Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23196
Title: | Grafting of ultraviolet filter methoxy cinnamic acid on silicone |
Other Titles: | การกราฟต์สารกรองรังสีอัลตราไวโอเลต เมธอกซีซินนามิกเอซิค บนซิลิโคน |
Authors: | Nantawan Hongchinnagorn |
Advisors: | Supason Wanichweacharung |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Issue Date: | 2003 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Methoxy cinnamic acid was grafted on silicone in order to make polymer with ultraviolet (UV) absorption property. When (6-7% aminopropylmethylsiloxane) dimethylsiloxane copolymer (AS) was used, [3-(p-methoxycinnamido)propyl](methyl) dimethylsiloxane copolymer (G-AS) was obtained. When compared to free octyl methoxycinnamate (OMC), G-AS gives UV absorption profile similar to that of free OMC but with much lower skin permeation and better photostability property. When poly (methylhydrogensiloxane) (MUS) was used, poly [(methyl) (octyl) (methyl) (propyl- 4-methoxycinnamatesiloxane] (G-MHS) was obtained. This G-MHS also showed UVB absorption property with much lower skin permeation as compared to that of OMC. Moreover, G-MHS was more photostable than OMC. |
Other Abstract: | งานวิจัยรี้เป็นการกราฟต์สารกรองรังสีอัลตราไวโอเลต (ยูวี) เมธอกซีซินนามิกแอซิด บนซิลิโคน เพื่อสร้างพอลิเมอร์ที่สามารถกรองรังสียูวี โดยมีการกราฟต์สารกรองรังสียูวี บนซิลิโคน 2 ชนิดได้แก่ (6-7%) แอมิโนโพรพิลเมธิลไซลอกเซน ไดเมธิลไซลอกเซนโคพอลิเมอร์ และ พอลิเมธิลไฮโดรเจนไซลอกเซน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกราฟต์บนแอมิโนซิลิโคนได้แก่ 3-พาราเมธอกซีซินนามิโดโพรพิลเมธิล ไดเมธิลไซลอกเซน โคพอลิเมอร์ (G-AS) ซึ่งสามารถดูดกลืนแสงในช่วงรังสียูวีบีได้ และเมื่อศึกษาความเสถียรหลังการดูดกลืนของสารนี้พบว่ามีความเสถียรมากกว่าสารกรองรังสียูวีอิสระ ออกธิล เมธอกซีซินนาเมท ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกราฟต์ 10% เมธอกซีซินนาเมทบนเมธิลไฮโดรเจนไซลอกเซนนั้นได้แก่ พอลี[เมธิล ออกธิล เมธิล โพรพิล-4-เมธอกซีซินนาเมท ไซลอกเซน] (G-MHS) ซึ่งสามารถดูดกลืนรังสีในช่วงยูวีบี และมีความเสถียรหลังจากดูดกลืนรังสียูวีบีด้วยเช่นกัน นอกจากนี้การดูดซึมผ่านผิวหนังมนุษย์ของผลิตภัณฑ์ทั้งสองยังน้อยมากเมื่อเทียบกับสารกรองรังสียูวีบี ออกธิล เมธอกซีซินนาเมท ผลิตภัณฑ์ที่ได้นี้จึงสามารถแก้ปัญหาเรื่องการดูดวึมของสารกรองรังสียูวีเข้าสู่ร่างกานมนุษย์ดี ซึ่งสารเหล่านี้สามารถพัฒนาไปเป็นสารกรองรังสียูวีในเครื่องสำอางต่างๆได้ |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemistry |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23196 |
ISBN: | 9741737025 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nantawan_ho_front.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nantawan_ho_ch1.pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nantawan_ho_ch2.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nantawan_ho_ch3.pdf | 4.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nantawan_ho_ch4.pdf | 430.96 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nantawan_ho_back.pdf | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.