Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23237
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวดี วิบูลย์ศรี | - |
dc.contributor.author | ประมาณ ชูพิพัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-07T02:55:19Z | - |
dc.date.available | 2012-11-07T02:55:19Z | - |
dc.date.issued | 2529 | - |
dc.identifier.isbn | 9745664863 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23237 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงตัวประกอบที่สัมพันธ์กับการออกกลางคันของนิสิตบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2522 – 2526 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ประกอบด้วย 4 กลุ่ม คือ นิสิตบัณฑิตศึกษาที่ขอลาออกจำนวน 344 คน นิสิตบัณฑิตศึกษาที่ไม่มาลงทะเบียน จำนวน 183 คน นิสิตบัณฑิตศึกษาที่เกรดเฉลี่ยสะสมไม่ถึงเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ จำนวน 382 คน และนิสิตบัณฑิตศึกษาที่ศึกษาไม่สำเร็จเมื่อครบกำหนด 5 ปี จำนวน 295 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีจำนวนข้อกระทงทั้งสิ้น 60 ข้อ ข้อละ 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละกลุ่มตัวอย่างได้คำนวณหาค่าตัวกลางเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์และหมุนแกนตัวประกอบแบบออโธกอนอลด้วยวิธีวาริแมกซ์ ข้อค้นพบมีดังนี้ คือ 1. ตัวประกอบที่สัมพันธ์กับการออกกลางคันของนิสิตบัณฑิตที่ถูกให้ออกเพราะศึกษาไม่สำเร็จเมื่อครบกำหนด 5 ปี มี 7 ตัวประกอบ คือ คุณลักษณะส่วนตัวของนิสิตบัณฑิตที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน ค่านิยมของนิสิตบัณฑิตที่มีต่อสาขาวิชาที่เรียน ปัญหาด้านการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาฐานะทางเศรษฐกิจ ปัญหาการปรับปรุงแก้ไขหัวข้อวิทยานิพนธ์ ปัญหาด้านภาวะทางจิตของนิสิตบัณฑิต และความไม่มุ่งมั่นในสาขาวิชาที่เรียน 2. ตัวประกอบที่สัมพันธ์กับการออกกลางคันของนิสิตบัณฑิตที่ถูกให้ออกเพราะเกรดเฉลี่ยสะสมไม่ถึงเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้มี 3 ตัวประกอบ คือ ค่านิยมของนิสิตบัณฑิตต่อสาขาวิชาที่เรียน คุณลักษณะส่วนตัวของนิสิตบัณฑิตที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน และปัญหาของครอบครัว 3. ตัวประกอบที่สัมพันธ์กับการออกกลางคันของนิสิตบัณฑิตที่ขอลาออกมี 3 ตัวประกอบ คือ ปัญหาส่วนตัวด้านบุคลิกภาพ ความสามารถเชิงวิชาการ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความต้องการของตลาดแรงงาน และปัญหาครอบครัว ความมุ่งมั่นในการศึกษาในสาขาวิชาชีพ 4. ตัวประกอบที่สัมพันธ์กับการออกกลางคันของนิสิตบัณฑิตที่ถูกจำหน่ายชื่อออกเพราะไม่มาลงทะเบียนมี 2 ตัวประกอบ คือ คุณลักษณะส่วนตัวของนิสิตบัณฑิตที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน ค่านิยมของนิสิตบัณฑิตต่อสาขาวิชาที่เรียน | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the factors related to the dropping out of graduate students of Chulalongkorn University from the academic year 2522 to 2526. Four groups of samples were used in this research. They were 344 resigned graduate students, 183 required to withdraw graduate students, 382 academic dismissed graduate students and 295 disciplinary dismissed graduate students. The research instrument for this study was a questionnaire constructed by the researcher and consisted of 60-point rating scale items. The obtained data from each sample group were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation. The factor analysis by the image factoring method and the varimax rotation of axis was also used for data analysis. The findings were as follows: 1. The seven factors related to the dropping out of the disciplinary dismissed graduate students were graduate students’ personal character which was an obstacle to the study, graduate students’ value towards the concentration attended, data collection and data analysis, financial status, the changing and improving of the thesis title, graduate students’ psychological condition, the indiligence in current program of study. 2. The three factors related to the dropping out of the academic dismissal graduate students were graduate students’ value towards the concentration attended, graduate students’ personal character which was an obstacle to the study, family’s problems. 3. The three factors related to the dropping out of resigned graduate students were [self-personality] problems academic competence financial status, trends of labour market and personal problems. 4. The two factors related to the dropping out of required to withdraw graduate students were graduate students’ personal character which was an obstacle to the study, graduate students’ value towards the concentration attended. | |
dc.format.extent | 681732 bytes | - |
dc.format.extent | 520842 bytes | - |
dc.format.extent | 1064531 bytes | - |
dc.format.extent | 441046 bytes | - |
dc.format.extent | 1815357 bytes | - |
dc.format.extent | 557100 bytes | - |
dc.format.extent | 557835 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.subject | การออกกลางคัน | |
dc.title | ตัวประกอบที่สัมพันธ์กับการออกกลางคันของนิสิตบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2522 ถึง 2526 | en |
dc.title.alternative | Factors related to the dropping out of graduate students of Chulalongkorn University from the academic year 2522 to 2526 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Praman_Ch_front.pdf | 665.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Praman_Ch_ch1.pdf | 508.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Praman_Ch_ch2.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Praman_Ch_ch3.pdf | 430.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Praman_Ch_ch4.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Praman_Ch_ch5.pdf | 544.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Praman_Ch_back.pdf | 544.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.