Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23361
Title: การศึกษาความต้องการการปรึกษาทางสุขภาพ ของผู้ที่มารับบริการในคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลของสภากาชาดไทย
Other Titles: A study of clients' needs for health counseling service in out-patient clinics, the Thai red cross society hospitals
Authors: วนิดา ชื่นชม
Advisors: ประนอม โอทกานนท์
อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
Issue Date: 2534
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการปรึกษาทางสุขภาพของผู้ป่วยที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลของสภากาชาดไทย ผลการวิจัย 1. ความต้องการคำปรึกษาเรื่องความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค 1) ผู้ป่วยโรคปอด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา ต้องการระดับปานกลาง 2) ผู้ป่วยโรคหัวใจโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ต้องการระดับมาก ผู้ป่วยโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา ต้องการระดับปานกลาง 3) ผู้ป่วยโรคเบาหวานโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา ต้องการระดับน้อย 2. พบความแตกต่างในการทดสอบค่าเฉลี่ยคะแนนความต้องการการปรึกษาด้านการปรับตัวและด้านการวางแผนการดำเนินชีวิตอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามตัวแปรต่อไปนี้ 2.1 ผู้ป่วยโรคปอด 2.1.1 จำแนกตามอายุ 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านสรีรวิทยา ด้านอัตมโนทัศน์ 2) การวางแผนในชีวิตประจำวันทุกด้าน 2.1.2 จำแนกตามสถานภาพสมรส 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านสรีรวิทยา ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาท 2) การวางแผนการการดำเนินชีวิตด้านอาชีพการงาน 2.1.3 จำแนกตามระยะเวลาการรับบริการ 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านสรีรวิทยา ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านความสัมพันธ์พึ่งพา 2.2 ผู้ป่วยโรคหัวใจ 2.2.1 จำแนกตามอายุ 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาทด้านความสัมพันธ์พึ่งพา 2) การวางแผนการวางแผนการดำเนินชีวิตด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคม 2.2.2 จำแนกตามสถานภาพสมรส 1)การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาท 2) การวางแผนการวางแผนในชีวิตด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคม 2.2.3 จำแนกตามระยะเวลาการมารับบริการ 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านสรีรวิทยา 2) การวางแผนการดำเนินชีวิตด้านอาชีพการงาน 2.3. ผู้ป่วยเบาหวาน 2.3.1 จำแนกตามอายุ 1) ความรู้เรื่องโรค 2) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านสรีรวิทยา ด้านบทบาท 2.3.2 จำแนกตามเพศ 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านสรีรวิทยา ด้านอัตมโนทัศน์ 2.3.3. จำแนกตามสถานภาพสมรส 2) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านบทบาท 2.3.4 จำแนกตามระยะเวลาการมารับบริการ 1) การปรับตัวในชีวิตประจำวันด้านอัตมโนทัศน์
Other Abstract: The purposes of this study were to study the needs of clients attending out-patients clinics, The Thai Red Cross Society Hospitals, for health counseling services. The major findings were as follow :- 1. Need for health counseling service on knowledge of disease. For lung disease patients, Chulalongkorn and Sriracha Hospital patients obtained need in middle level. For heart disease patients, Chulalongkorn Hospital patients obtained need in high level while Sriracha Hospital patients obtained middle level. For diabelic patients, both Chulalongkorn and Sriracha Hospital patients obtained need in low level. 2. There were a significant difference level at the .05 of the score on daily life adaptation and life styles planning as classified by the following variables. 2.1 For lung disease patients. 2.1.1 Age : the score of 1) daily life adaptation on physiology, on self concept. 2) life styles planning in every aspect. 2.1.2 Status : the score of 1) daily life adaptation on physiology, on self concept, on patient role. 2) life style planning on occupation. 2.1.3 Length of attending clinic : the score of 1) daily life adaptation on physiology, on self concept, on relationship. 2.2 For heart disease patients. 2.2.1 Age : the score of daily life adaptation on self concept, on patient role, on relationship. 2) life style planning on family and social relationship. 2.2.2 Marital status : The score of 1) daily life adaptation on self concept, on patient role. 2) life style planning on family and social relationship. 2.2.3 Length of attending clinic : the score of 1) daily life adaptation on physiology. 2) life style planning on occupation. 2.3 For Diabetic patients 2.3.1 Age : the score of 1)disease knowledge. 2) daily life adaptation on physiology, on patient role. 2.3.2 Sex : the score of 1) daily life adaptation on physiology, on self concept. 2.3.3 Marital status : the score of 1) daily life adaptation on patient role. 2.3.4 Length of attending clinic : the score of 1) daily life adaptation on self concept.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การบริหารการพยาบาล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23361
ISBN: 9745789992
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waneeda_ch_front.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open
Waneeda_ch_ch1.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open
Waneeda_ch_ch2.pdf13.97 MBAdobe PDFView/Open
Waneeda_ch_ch3.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open
Waneeda_ch_ch4.pdf18.19 MBAdobe PDFView/Open
Waneeda_ch_ch5.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open
Waneeda_ch_back.pdf5.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.