Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorสุพัตรา ผาติวิสันติ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-12T06:20:42Z-
dc.date.available2012-11-12T06:20:42Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745810924-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23799-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความสามารถทางการคำนวณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง ที่มีแบบการเรียนต่างกัน และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความสามารถทางการคำนวณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง ที่มีแบบการเรียนต่างกัน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง ปีการศึกษา 2534 จำนวน 378 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จากโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีค่าความเที่ยง 0.93 แบบทดสอบความสามารถทางการคำนวณมีค่าความเที่ยง 0.92 และแบบสำรวจแบบการเรียนซึ่งดัดแปลงมาจากแบบสำรวจแบบการเรียนของคอล์บ (Kolb) มีค่าความเที่ยง 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองที่เป็นตัวอย่างประชากรมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงสุดคือ กลุ่มที่มีแบบการเรียนแบบคิดอเนกนัย รองลงมาคือ กลุ่มที่มีแบบคิดเอกนัยแบบปรับปรุง และแบบดูดซึมตามลำดับ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองที่เป็นตัวอย่างประชากรมีความสามารถทางการคำนวณสูงสุดคือ กลุ่มที่มีแบบการเรียนแบบดูดซึม รองลงมาคือ กลุ่มที่มีแบบคิดอเนกนัย แบบปรับปรุง และแบบคิดเอกนัย ตามลำดับ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองที่มีแบบการเรียนแบบคิดอเนกนัย แบบดูดซึม แบบคิดเอกนัยและแบบปรับปรุงมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองที่มีแบบการเรียนแบบคิดอเนกนัย แบบดูดซึม แบบคิดเอกนัย และแบบปรับปรุง มีความสามารถทางการคำนวณไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study mathematics problem solving ability and computation ability of mathayom suksa two students with different learning styles and to compare mathematics problem solving ability and computation ability of mathayom suksa two students with different learning styles. The subjects were 378 mathayom suksa two students which were multistage randomly sampled from secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education in Bangkok Metropolis during academic year 1991. The research instruments composed of the mathematics problem solving ability test with the reliability of 0.93, the computation ability test with the reliability of 0.92 and the student's learning style inventory modified from Kolb‘s learning style inventory with the reliability of 0.91. The data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation and one-way analysis of variance. The findings of the study showed that: 1. The samples, mathayom suksa two students who had the highest mathematics problem solving ability was the group with the divergent style. The next were the convergent, the accommodative and the assimilative styles respectively. The samples, mathayom suksa two students who had the highest I computation ability was the group with the assimilative style. The next were the divergent, the accommodative and the convergent styles respectively. 2. Mathayom suksa two students with divergent, assimilative, convergent and accommodative styles had no significant differences in mathematics problem solving abilities at the 0.05 level. Mathayom suksa two students with divergent, assimilative, convergent and accommodative styles had no significant differences in computation abilities at the 0.05 level.-
dc.format.extent3229719 bytes-
dc.format.extent4165830 bytes-
dc.format.extent12450232 bytes-
dc.format.extent5969582 bytes-
dc.format.extent1610289 bytes-
dc.format.extent2608839 bytes-
dc.format.extent11642998 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และความสามารถทางการคำนวณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองที่มีแบบการเรียนต่างกันen
dc.title.alternativeA comparison of mathematics problem solving ability and computation ability of mathayom suksa two students with different learning stylesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supattra_pa_front.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_pa_ch1.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_pa_ch2.pdf12.16 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_pa_ch3.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_pa_ch4.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_pa_ch5.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_pa_back.pdf11.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.