Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23926
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส
dc.contributor.authorขวัญธิดา สุวรรณบัตร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-13T08:52:13Z
dc.date.available2012-11-13T08:52:13Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741715447
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23926
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 289 ซึ่งกฎหมายมุ่งที่จะให้ผู้กระทำความผิดได้รับการลงโทษให้ได้สัดส่วนกับลักษณะของการกระทำความผิด จึงมีการบัญญัติโทษที่รุนแรงกว่าปกติ โดยแบ่งความมุ่งหมายในการลงโทษออกเป็น 3 กรณีคือ 1.ลงโทษหนักขึ้นเพราะเหตุฉกรรจ์ หากกระทำต่อบุคคลบางประเภท คือบุพการี เจ้าพนักงานและผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงาน 2.ลงโทษหนักขึ้นเพราะลักษณะหรือวิธีการที่กระทำลงมีความรุนแรงมากกว่าการฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาธรรมดา และแสดงถึงจิตใจชั่วร้ายของผู้กระทำหรือการฆ่าโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และการฆ่าโดยกระทำทรมานหรือทารุณโหดร้าย 3.ลงโทษหนักขึ้นเพราะจุดมุ่งหมายพิเศษในการกระทำความผิดคือการฆ่าเพื่อตระเตรียมการหรือเพื่อความสะดวกในการกระทำความผิดอย่างอื่น และการฆ่าเพื่อจะเอาหรือเอาไว้ซึ่งผลประโยชน์หรือเพื่อปกปิดความผิดอื่นหรือเพื่อหลีกเลี่ยงให้พ้นอาญาในความผิดอื่น การศึกษาวิจัยจะชี้ให้เห็นว่าเหตุฉกรรจ์ตามมาตรา 289 ดังกล่าวครอบคลุมการกระทำที่ควรได้รับโทษหนักขึ้นทุกกรณีแล้วหรือไม่ ซึ่งจากการศึกษาวิจัยพบว่า ยังมีลักษณะของการกระทำบางกรณีที่ควรบัญญัติให้ต้องรับโทษหนักขึ้น แต่กฎหมายไทยมิได้กำหนดให้การกระทำดังกล่าวเป็นเหตุที่ทำให้ผู้กระทำความผิดได้รับโทษหนักขึ้น ทั้งๆ ที่ ลักษณะของการกระทำความผิดมีความร้ายแรงพอกับเหตุฉกรรจ์ตามมาตรา 289 ดังนั้น จึงสมควรเสนอให้มีการพิจารณานำความผิดดังกล่าว มาวิเคราะห์ และแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อกำหนดเป็นเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานฆ่าผู้อื่นได้เหมาะสมยิ่งขึ้น
dc.description.abstractalternativeThe purpose of gravity on offense of murder (Article 289 of Thai Penal Code B.E.2499) is to punish the offender proportionally with the offense committing. Therefore the penalty is severer than in usual murder cases. The purposes of punishment is devided into three categories as follow: 1. To protect some special persons: ascendant, officer and officer assistant. 2. Characteristics or methods of the offense are more severe than in usual murder cases and indicates the vicious mental status of the wrongdoer. They comprise premeditated murder and murder by employing torture or acts of cruelty. 3. The offender has certain special purposes: the murder is preparing or facilitating the commission of the other offense; or seciring the benefit obtained through the other offense, or concealing the other offense or escaping punishing for the other offense commited by him. The research is to find out ; if the provision in Article 289 covers every aspect of gravity of offense of murder. The result of the study shows that some kinds of gravity should be included in the statute. But Thai Penal Code does not cover it even such conducts are severe as provided in Article 289. As a result, I wish to propose that the gravity on offense of murder should be analyzed and amended in order that the gravity in Thai will be appropriate.
dc.format.extent3159175 bytes
dc.format.extent2326072 bytes
dc.format.extent11157950 bytes
dc.format.extent15055693 bytes
dc.format.extent15492543 bytes
dc.format.extent4475808 bytes
dc.format.extent8022018 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศen
dc.title.alternativeGravity on offense of murder : comparative study with foreign lawen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kwanthida_su_front.pdf3.09 MBAdobe PDFView/Open
Kwanthida_su_ch1.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open
Kwanthida_su_ch2.pdf10.9 MBAdobe PDFView/Open
Kwanthida_su_ch3.pdf14.7 MBAdobe PDFView/Open
Kwanthida_su_ch4.pdf15.13 MBAdobe PDFView/Open
Kwanthida_su_ch5.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open
Kwanthida_su_back.pdf7.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.