Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุพิน พิพิธกุล
dc.contributor.authorกิตติ พัฒนตระกูลสุข
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-15T09:29:41Z
dc.date.available2012-11-15T09:29:41Z
dc.date.issued2524
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24167
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร์ด้านพุทธิพิสัย ตามแนวความคิดของบลูมและตามแนวความคิดของเคลเลอร์ กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2523 จำนวน 60 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 30 คน และละกลุ่มประกอบด้วยนักเรียนกลุ่ม “ดีเยี่ยม” “ดี” และ “ปานกลาง” จำนวนกลุ่มละเท่า ๆ กัน กลุ่มที่ 1 สอนด้วยแผนการเรียนการสอนของเคลเลอร์ กลุ่มที่ 2 สอนด้วย กลวิธีการเรียนรู้ของบลูม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การหาค่าดัชนีความเพียงพอ (Adequacy Ratio) หรือ ADR ความแม่นตรง (Consistency Ratio) หรือ CSR และความสมบูรณ์ (Completeness Ratio) หรือ CPR เพื่อทดสอบความเที่ยงตรงแล้วจัดเรียงลำดับขั้นการเรียนรู้ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ด้านพุทธิพิสัย ตามแนวความคิดของบลูม และตามแนวความคิดของเคลเลอร์ โดยใช้ค่าทดสอบเอฟ (F-Test) ผลการวิจัยปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ด้านพุทธิพิสัยของการใช้กลวิธีการเรียนรู้ของบลูมสูงกว่าการใช้แผนการเรียนการสอนของเคลเลอร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the Cognitive achievement in mathematics learning between Bloom’s Learning for Mastery Strategy and the Keller’s Plan. The samples were sixty Mathayom Suksa one students from the demonstration school of Kasetsart University during the 1980 academic year. They were devided into two groups of thirty students each. Each group consisted of “Excellent”, “Good” and “Fair” students in equal numbers. The first group was taught by the Keller’s Plan and the second by Bloom’s Learning for Mastery Strategy. The data were analyzed by using the indices Adequacy Ration (ADR), Consistency Ratio (CSR) and Completeness Ratio (CPR) in order to test the Validity and to arrange mathematical learning hierarchies, and to compare cognitive in mathematics learning between Bloom’s Learning for Mastery Strategy and the Keller’s Plan. The results was as follows: Cognitive achievement in mathematics learning of Bloom’s for Mastery Strategy was higher than Keller’s Plan at 0.01 level of significance.
dc.format.extent591613 bytes
dc.format.extent638634 bytes
dc.format.extent2901454 bytes
dc.format.extent913360 bytes
dc.format.extent666662 bytes
dc.format.extent570454 bytes
dc.format.extent6574569 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัยในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างการใช้กลวิธีการเรียนรู้ของบลูมกับแผนการเรียนการสอนของเคลเลอร์en
dc.title.alternativeA comparison of cognitive achievement in mathematics learning between Bloom's learning for mastery strategy and Keller's planen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kitti_Pa_front.pdf577.75 kBAdobe PDFView/Open
Kitti_Pa_Ch1.pdf623.67 kBAdobe PDFView/Open
Kitti_Pa_Ch2.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open
Kitti_Pa_Ch3.pdf891.95 kBAdobe PDFView/Open
Kitti_Pa_Ch4.pdf651.04 kBAdobe PDFView/Open
Kitti_Pa_Ch5.pdf557.08 kBAdobe PDFView/Open
Kitti_Pa_back.pdf6.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.