Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24383
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญมี เณรยอด | |
dc.contributor.author | วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-17T04:23:36Z | |
dc.date.available | 2012-11-17T04:23:36Z | |
dc.date.issued | 2525 | |
dc.identifier.isbn | 9745610062 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24383 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักวิชาการและผู้ใช้หลักสูตร เกี่ยวกับการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษา ตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 2. เพื่อ เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักวิชาการ และผู้ใช้หลักสูตรเกี่ยวกับการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษา ตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 3. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้หลักสูตรโรงเรียนประถมศึกษาในเมืองและผู้ใช้หลักสูตรโรงเรียนประถมศึกษานอกเมือง เกี่ยวกับการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษาตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 4. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักวิชาการและผู้ใช้หลักสูตรเกี่ยวกับความคาดหมายในปัญหาและอุปสรรคของการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษา ตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์วิชาศิลปศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดในเขตการศึกษา 7 อาจารย์ภาควิชาศิลปศึกษาของวิทยาลัยครูกำแพงเพชร วิทยาลัยครูนครสวรรค์ วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม พิษณุโลก วิทยาลัยครูเพชรบูรณ์ และวิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ อาจารย์ใหญ่หรือครูใหญ่ ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่หรือผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายวิชาการ และครูสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 4 ของโรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งพวก ( Stratified Random Sampling ) ได้นักวิชาการจำนวน 24 คน และผู้ใช้หลักสูตรจำนวน 704 คน รวมกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้งสิ้น 728 คน จากแบบสอบถามที่ส่งไปจำนวน 758 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามคืน 728 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 96.04 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบ ( Checklist ) แบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale ) และแบบปลายเปิด ( Open – ended ) การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์โดยหาค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแตกต่างโดยใช้ค่า Z สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของนักวิชาการและผู้ใช้หลักสูตรเกี่ยวกับการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษา ตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 อยู่ในระดับ “ เห็นด้วย ” ทั้งสองกลุ่ม และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ความคิดเห็นของผู้ใช้หลักสูตรโรงเรียนประถมศึกษาในเมือง และผู้ใช้หลักสูตรโรงเรียนประถมศึกษานอกเมือง เกี่ยวกับการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษา ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดหาวัสดุภายในท้องถิ่น มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดหาวัสดุภายในท้องถิ่น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ความคิดเห็นของนักวิชาการและผู้ใช้หลักสูตรเกี่ยวกับความคาดหมายในปัญหาและอุปสรรคของการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษา ตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 คาดหมายว่าเป็นปัญหาอยู่ในระดับ “ มาก ” | |
dc.description.abstractalternative | Purposes of the study: l. To study the opinions of academicians and curriculum implementators concerning, modification in art education lesson planning of the Elementary Curriculum in Educational Region Seven. 2.To compare the opinions of academicians and curriculum implementators in art education lesson planning of the Elementary Curriculum in Educational Region Seven. 3.To compare the opinions concerning modifications In art education lesson planning of the Elementary Curriculum in Educational Region Seven between academicians and curriculum implementators in elementary school within municipal area and those who are in elementary schools outside municipal area. 4.To study the opinions of academicians and curriculum implementators concerning expected problems and obstacles in modifying the art education lesson planning of the Elementary Curriculum in Educational Region Seven. Procedure; Sample of this study consisted of art education supervisors who are under the jurisdiction of The Office of the Provincial Primary Education in Educational Region Seven, art education teachers in Kampangpet Teachers’ College, Nakonsawan Teachers’ College, Piboonsongkram Teachers’ College , Pissanulok , Petchaboon Teachers’ College, and uttaradit Teachers’ College, The others were principals, principal’s academic aesistances and elementary school teachers at grade 1- 4 levels. The Stratified Random Sampling technique was used to select sample which was composed of 24 abademicians and 7 4 curriculum implementators totalling the sample to be 728 in numbers. The instrument used in this research was a questionnaire which was constructed in forms of checklist, rating scale, and open-ended. Out of 758 questionnaires sent out, 728 or 96.04 percent were completed and returned. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and z - test. Findings; Opinions of academicians and curriculum implementators concerning modifications in art education lesson planning of the Elementary Curriculum in Educational Region Seven were at the level of acceptance and weressignificantly different at the 0,05 level. Thieve was no significant difference in opinions of curriculum implementators in elementary schools within the municipal area and those who are in elementary schools outside the municipal area. But the opinions concerning supplying the local materials were significantly different at the 0,05 level. Opinions of academicians and curriculum implementators concerning the expected problems and obstacles in modifying the art education lesson planning of the Elementary Curriculum in the Educational Region Seven was rated at the high level. | |
dc.format.extent | 642831 bytes | |
dc.format.extent | 652196 bytes | |
dc.format.extent | 2343611 bytes | |
dc.format.extent | 437583 bytes | |
dc.format.extent | 1369479 bytes | |
dc.format.extent | 1124698 bytes | |
dc.format.extent | 1139329 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ความคิดเห็นของนักวิชาการและผู้ใช้หลักสูตร เกี่ยวกับการปรับแผนการสอนวิชาศิลปศึกษาตามหลักสูตรประถมศึกษา ในเขตการศึกษา 7 | en |
dc.title.alternative | Opinions of academicians and curriculum implementators concerning modifications in art education lesson planning of the elementary curriculum in educational region seven | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wichai_Pr_front.pdf | 627.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wichai_Pr_ch1.pdf | 636.91 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wichai_Pr_ch2.pdf | 2.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wichai_Pr_ch3.pdf | 427.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wichai_Pr_ch4.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wichai_Pr_ch5.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wichai_Pr_back.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.