Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24657
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorธเนศ ชูวัฒนะเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-20T04:43:31Z-
dc.date.available2012-11-20T04:43:31Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741762887-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24657-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยนี้จุดมุ่งหมายเพื่อจัดทำระบบของคงคลังให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ,ลดอัตราการขาด แคลนวัตถุดิบในการผลิตและลดอัตราการผลิตงานเสร็จไม่ทันกำหนดส่งมอบโดยการศึกษา สภาพการทำงาน และ ปัญหาการควบคุมของคงคลังในอุตสาหการประเภทสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ และหาแนวทางแก้ไข โดยการประยุกต์ใช้วิชาการทางวิศวอุตสาหการ ด้านการศึกษาวิธีการทำงาน การบริหารของคงคลัง การ วางแผนความต้องการวัสดุ และประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการปรับปรุงระบบการทำงาน ในการศึกษาได้ใช้โรงพิมพ์บรรจุภัณฑ์แห่งหนึ่งเป็นกรณีศึกษา โดยมุ่งหวังว่าผลจากการศึกษาจะได้เป็น แบบอย่างแก่โรงงานอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน จากการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ระบบบริหารของคงคลังไม่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ การไม่มีการคำนวณปริมาณการสั่งซื้อ ไม่มีการคำนวณปริมาณของคงคลังสำรอง และไม่มีการคำนวณจุดสั่งซื้อ สินค้าใหม่ จากสภาพที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดการส่งมอบเกิดความล่าช้าและมูลค่าของคงคลังสูงมาก ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับปรุง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดย 1. การประยุกต์ใช้เทคนิคการบริหารของคงคลังและการวางแผนความต้องการวัสดุเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบการบริหารของคงคลัง 2. การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ คือ Microsoft Access เข้ามาช่วยในการจัดทำฐานข้อมูล ที่จำเป็นต่อการจัดระบบการวางแผนและควบคุมวัตถุดิบ ในการบริหารของคงคลังและการวางแผนความต้องการวัสดุ จะประกอบไปด้วย การประมาณการ สินค้าที่จะต้องผลิต ระบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ ต้นทุนในการสั่งซื้อของวัตถุดิบแต่ละประเภท ต้นทุน ของคงคลังต่อวัตถุดิบแต่ละประเภท และการกำหนดนโยบายในการสั่ง ผลจากการศึกษาและวิจัยพบว่า ภายหลังจากการปรับปรุงอัตราการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตสินค้า และอัตราการผลิตงานเสร็จไม่ทัน กำหนดส่งมอบสินค้า ยังมีอัตราที่ค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าวิธีการพิจารณาจุดสั่งซื้อไม่เหมาะสมที่จะ นำมาใช้ในการจัดการของคงคลัง โดยมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระบบการควบคุมของคงคลัง คือ การ คำนวณปริมาณของคงคลังสำรองใหม่ ซึ่งจะประกอบด้วยประเภทของวัตถุดิบที่ขาดแคลน และการกำหนด อัตราส่วนในการคิดจำนวนสินค้าคงคลัง-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to set up the inventory control system , reduce the percentage of out of stock and the delay in delivery by studying the conditions and problems of inventory control in printing industry, and to purpose the solutions by applying industrial engineering knowledge such as work study, inventory management and computer software . In this research , the printing factory used as a case study in which the knowledge gain from this study could be further implemented as a guideline study for other printing factories. The study has found that the significant factors affecting the inefficiency of the inventory management are no calculate order quantity , no safety stock , no re-order point and the inaccessibility of the supply management proficiency .The effects of this created the delay of delivery and high cost of inventory. The researcher, therefore, has proposed the method to solve those problems as follows: 1. Applying inventory management technique in order to increase efficient inventory control system. 2. Applying Microsoft Access in order to set up database which is necessary for inventory control system. Inventory management and material requirements planning is made from forecast order , product structure , ordering cost 1 holding cost and set planed order releases .The results after new system implementation , percentage of out of stock and delay of production are high so the system of order point system is not practical for inventory control system. The suggestion for inventory control is safety stock calculation which is made from the type of material shortage and the setting of fraction for safety stock.-
dc.format.extent3777621 bytes-
dc.format.extent1244579 bytes-
dc.format.extent4115811 bytes-
dc.format.extent3295907 bytes-
dc.format.extent1933642 bytes-
dc.format.extent11708839 bytes-
dc.format.extent7223324 bytes-
dc.format.extent19039280 bytes-
dc.format.extent1812518 bytes-
dc.format.extent4542442 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาระบบการวางแผนและควบคุมวัตถุดิบสำหรับโรงพิมพ์บรรจุภัณฑ์en
dc.title.alternativeMaterial planning and control system development for packaging factoryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanait_ch_front.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch1.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch2.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch3.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch4.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch5.pdf11.43 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch6.pdf7.05 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch7.pdf18.59 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_ch8.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Tanait_ch_back.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.