Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24734
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนี ขวัญบุญจัน | |
dc.contributor.author | นิมิตร มั่งมีทรัพย์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-20T08:51:09Z | |
dc.date.available | 2012-11-20T08:51:09Z | |
dc.date.issued | 2530 | |
dc.identifier.isbn | 9745677019 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24734 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารเกี่ยวกับการปฏิบัติที่คาดหวังกับการปฏิบัติจริงในการบริหารโครงการสุขภาพในโรงเรียนตามการรับรู้ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 1 โดยส่งแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารโครงการสุขภาพในโรงเรียนไปยังผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 1 จำนวน 270 ฉบับ ได้รับกลับคืนมา 267 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 98.88 และนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยหาค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่า “ที” (t-test) นำเสนอข้อมูลในรูปตารางและความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารโรงเรียนมีการปฏิบัติที่คาดหวังในการบริหารโครงการสุขภาพในโรงเรียนโดยส่วนรวมอยู่ในระดับมาก และมีการปฏิบัติที่คาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุดในเรื่อง จัดให้มีบัตรสุขภาพประจำตัวนักเรียนทุกคน จัดให้มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียน จัดให้มีการดูแลรักษาความสะอาดและกำจัดขยะมูลฝอยภายในบริเวณโรงเรียนอย่างทั่วถึง จัดให้มีถังใส่ขยะประจำห้องเรียนทุกห้อง จัดให้มีน้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและถูกสุขลักษณะเพียงพอ สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูกับนักเรียน จัดให้มีการบริการอาหารกลางวันแก่นักเรียน จัดให้มีการให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่นักเรียนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จัดให้มีครูควบคุมดูแลความปลอดภัยในการเดินทางไป-กลับของนักเรียน จัดให้มีเวรยามดูแลความปลอดภัยในโรงเรียนในตอนกลางวันและกลางคืน และการจัดหาหลักสูตรและแผนการสอนกลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตไว้ให้ครูใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตามลำดับ 2. ผู้บริหารโรงเรียนได้ปฏิบัติจริงในการบริหารโครงการสุขภาพในโรงเรียน โดยส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก และสามารถปฏิบัติได้ในระดับมากที่สุดในเรื่อง จัดให้มีบัตรสุขภาพประจำตัวนักเรียนทุกคน จัดให้มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียน จัดให้มีถังใส่ขยะประจำห้องเรียนทุกห้อง ตามลำดับ 3. เมื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติที่คาดหวังกับการปฏิบัติจริงของผุ้บริหารโรงเรียนในการบริหารโครงการสุขภาพในด้านการวางแผนโครงการสุขภาพในโรงเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะในโรงเรียน การจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน การสอนกลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตเกี่ยวกับสุขภาพ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน บ้าน และชุมชน และการประเมินผลโครงการสุขภาพในโรงเรียน พบว่า ผู้บีริหารโรงเรียนมีการปฏิบัติที่คาดหวังมากกว่าการปฏิบัติจริง จนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้านและรายข้อ | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to compare the expected and actual performances in the school health program administration as perceived by elementary schools administrators in educational region one. The 270 questionnaires concerning school health program administration activities were sent to those sampled school administrators, and 267 counted for 98.88% of them were returned. The data were than analyzed in terms of the percentage, the arithmetic mean, the standard deviation, and t-test. The results were: 1. The expected performances in the school health program administration of administrators in general were in the high level. The performances expected in the highest level were providing a health record for every student, providing students’ height and weight measurements, providing cleanliness maintaining and garbage disposal all around the school, providing a trash can in every classroom, providing clean and hygienic drinking and using water sufficiently, enhancing teacher-student relationship, providing school lunch services for students, providing immunization to students by public health personnel, providing teachers for taking care of students concerning safety along the way from home to school and vice versa, providing guards to maintain safety in the school both on day and at night, and providing curriculum and lesson plans in life experience promotion area for teachers’ usage in managing instruction, respectively. 2. The actual performances in the school health program administration of administrators in general were in the high level. They had the actual performances in the highest level in providing a health record for every student, providing students’ height and weight measurements, and providing a trash can in every classroom, respectively. 3. The comparison between the expected experience and actual performances in school health program administration as perceived by the administrators in each area and each item; was found that there were significantly differences at the level of .05 in the areas of planning a school health program, providing hygienic school environment, providing school health services, teaching in the life experience promotion area concerning health, promoting school-home-community relationship, and evaluating of the school health program. | |
dc.format.extent | 466075 bytes | |
dc.format.extent | 393728 bytes | |
dc.format.extent | 695724 bytes | |
dc.format.extent | 334969 bytes | |
dc.format.extent | 751924 bytes | |
dc.format.extent | 920142 bytes | |
dc.format.extent | 830826 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปรียบเทียบการปฏิบัติที่คาดหวังกับการปฏิบัติจริง ในการบริหารโครงการสุขภาพในโรงเรียนตามการรับรู้ของผู้บริหาร โรงเรียนประถมศึกษา เขตการศึกษา 1 | en |
dc.title.alternative | A comparison of expected and actual performances in school health program administration as perceived by administrators in elementary schools, educational region one | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พลศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nimitr_Mu_front.pdf | 455.15 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nimitr_Mu_ch1.pdf | 384.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nimitr_Mu_ch2.pdf | 679.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nimitr_Mu_ch3.pdf | 327.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nimitr_Mu_ch4.pdf | 734.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nimitr_Mu_ch5.pdf | 898.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nimitr_Mu_back.pdf | 811.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.