Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2478
Title: | Postoperative throat discomfort after using LMA-Proseal versus Profile Soft-Seal Cuff for anesthesia in ambulatory gynecologic laparoscopy |
Other Titles: | อาการไม่สบายในคอหลังจากใส่ท่อหายใจระหว่าง LMA-ProSeal กับ Profile Soft-Seal Cuff ในผู้ป่วยนอกที่มารับการส่องกล้องทางนรีเวช |
Authors: | Ketchada Uerpairojkit |
Advisors: | Somrat Charuluxananan Thewarung Werawatganon |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
Subjects: | Neck pain Laparoscopy Respirators |
Issue Date: | 2004 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Objective: To compare the severity of throat discomfort in terms of sore throat, dysphagia and dysphonia caused by LMA-ProSeal (PLMA) and Profile Soft- Seal Cuff (PSSC) in early (2 hour) and late (24 hour) postoperative period after ambulatory gynecologic laparoscopy. Design: Randomized double-blind controlled trial Setting : King Chulalongkorn Memorial Hospital which is the tertiary care center. Research Methodology: One hundred and thirty-eight patients undergoing ambulatory gynecologic laparoscopy were randomly allocated into 2 groups. The patients in one group were intubated with Profile-Soft-Seal Cuff (PSSC), while the other with ProSeal LMA (PLMA). Four-leveled score of sore throat, dysphagia, dysphonia, nausea or vomiting symptoms at 2 and 24 hour and 5-leveled satisfaction score to both techniques at 24 hour postoperatively were evaluated. Results : The patients in PLMA group have less severe symptoms of sore throat (p = 0.016) and dysphonia(P= 0.003) than those in PSSC group only at 2 but not at 24 hour postoperatively. No difference was detected for dysphagia, nausea, vomiting and satisfaction scores. Conclusion : PLMA caused less sore throat and dysphonia in early postoperative period than PSSC did. PLMA can be used as an alternative airway device for anesthesia in ambulatory gynecologic laparoscopy. |
Other Abstract: | วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรุนแรงของอาการไม่สบายในลำคอ ได้แก่ อาการเจ็บคอ กลืนลำบาก และเสียงแหบ ระหว่างการใส่ท่อหายใจแบบ LMA-ProSeal กับท่อหายใจแบบ Profile Soft-Seal Cuff endotracheal tube (PSSC) ในระยะแรก (2 ชม.) และระยะหลัง (24 ชม.) หลังผ่าตัดส่องกล้องทางนรีเวชแบบผู้ป่วยนอก รูปแบบการศึกษา: การศึกษาเชิงทดลองทางคลินิกแบบปกปิดสองฝ่ายโดยการสุ่มตัวอย่าง สถานที่ทำการวิจัย: โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ วิธีการศึกษา ผู้ป่วย 138 รายที่มารับการส่องกล้องทางนรีเวชแบบผู้ป่วยนอก จะได้รับการจัดเป็น 2 กลุ่มโดยวิธีสุ่มคือ กลุ่มหนึ่งได้รับการใส่ท่อหายใจด้วย PSSC และอีกกลุ่มหนึ่งด้วย PLMA โดยทั้ง 2 กลุ่มได้รับยาสลบตามวิธีมาตรฐาน ประเมินอาการเจ็บคอ กลืนลำบาก และเสียงแหบ และอาการคลื่นไส้หรืออาเจียน ที่ 2 และ 24 ชั่วโมง ความพึงพอใจที่ 5 ระดั ต่อวิธีที่ได้รับการใส่ท่อหายใจเมื่อครบ 24 ชั่วโมง ผลการศึกษา: ผู้ป่วยมีอาการเจ็บคอและเสียงแหบ ณ เวลา 2 ชั่วโมงในกลุ่ม PLMA น้อยกว่า PSSC (P= 0.016 และ P = 0.003 ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่าง ณ เวลา 24 ชั่วโมง รวมทั้งความแตกต่างของอาการกลืนลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน และความพึงพอใจระหว่างกลุ่ม สรุป PLMA ทำให้เกิดอาการเจ็บคอและเสียงแหบในระยะแรกน้อยกว่า PSSC PLMA จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของท่อหายใจสำหรับการดมยาสลบในการส่องกล้องทางหน้าท้องในผู้ป่วยนอกทางนรีเวช |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Health Development |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2478 |
ISBN: | 9741769504 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ketchada.pdf | 512.64 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.