Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24998
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุทุมพร ทองอุไทย | |
dc.contributor.author | เบญจวรรณ รอดแก้ว | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-21T08:26:29Z | |
dc.date.available | 2012-11-21T08:26:29Z | |
dc.date.issued | 2524 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24998 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | จุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิงทดลองนี้ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการเรียนมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ด้วยการทำกิจกรรมการอ่าน 4 แบบคือ ย่อเรื่องที่อ่าน ยกตัวอย่างใหม่ บอกประเด็นสำคัญของเรื่อง และแยกประเภทเรื่องที่กำหนดขึ้นใหม่โดยเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 2 (ม.2) ของโรงเรียนมูลเจริญวิทยาคม ซึ่งได้จากการสุ่มโดยอาศัยระดับคะแนนเฉลี่ยหมวดวิชาภาษาไทยในชั้นมัธยมปีที่ 1 (ม.1) เป็นเกณฑ์การแบ่งกลุ่มสุ่มนักเรียน 5 กลุ่มๆ ละ 16 คน ซึ่งมีผู้ที่มีความสามารถทางภาษาไทย สูง ปานกลาง และอ่อน คละกัน เพื่อเป็นกลุ่มทดลอง 4 กลุ่ม กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม ทำการทดลองทุกกลุ่มพร้อมกันโดยแต่ละกลุ่มอ่านเรื่องสัตว์ 3 เรื่องคือ งู กุ้ง ค้างคาว แล้วทำกิจกรรมดังนี้ กลุ่มที่ 1 ย่อเรื่องที่อ่าน กลุ่มที่ 2 ยกตัวอย่างใหม่ กลุ่มที่ 3 บอกประเด็นสำคัญของเรื่อง กลุ่มที่ 4แยกประเภทเรื่องที่กำหนดขึ้นใหม่ แล้วให้อ่านคำสรุปเนื้อเรื่องย่อ ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ทำกิจกรรมใดเลย แต่ให้อ่านคำสรุปเนื้อเรื่องย่อด้วย ทดสอบผลสัมฤทธิ์ของการเรียนมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ด้วยการอ่านของทุกกลุ่มด้วยแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง วัดความสนใจเกี่ยวกับสัตว์ด้วยแบบวัดความสนใจด้านสัตว์ของ ชูศรี พรรณเชษฐ์(2516) และวัดความสามารถในการอ่านโดยใช้ระดับคะแนนเฉลี่ยของหมวดวิชาภาษาไทย ในชั้นมัธยมปีที่ 1 (ม.1) แทน ตามข้อค้นพบของ ประพิมพ์พรรณ สุธรรมวงศ์(2516) เมื่อรวบรวมข้อมูลจากผลการทดลองมาวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม โดยมีตัวแปรร่วม 2 ตัวคือ ความสนใจเกี่ยวกับสัตว์ และความสามารถในการอ่าน ผลปรากฎว่า มีความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ของการเรียนมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนทั้ง 5 กลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญ (p < .01) แต่เมื่อเปรียบเทียบค่ามัชฌิมเลขคณิตเป็นรายคู่ ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ ของกลุ่มที่ทำกิจกรรมแยกประเภทเรื่องที่กำหนดขึ้นใหม่ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p> .05) เพียงกลุ่มเดียว จึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การทำกิจกรรมหลังการอ่านมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ และการทำกิจกรรมแยกประเภทเรื่องที่กำหนดขึ้นใหม่ ทำให้เรียนรู้มโนทัศน์ได้ดีกว่าการไม่ทำกิจกรรมใดเลย | |
dc.description.abstractalternative | This experimental research aims to find out whether reading activities have any effects on science-concept achievement The reading activities are defind as (a) passage summarizing (b) new relevant examples giving (c) significant points identifying and (d) passage synthesizing. Five groups of Mathayom Suksa two students at Phuncharoen Withayakhom School, sixteen students each, are randomly selected. These five groups have similar Thai language ability background. Each subject is instructed to read 3 different passages, followed by one of the reading activity, except one is control group. All subjects are tested their science-concept learning achievement. To make the experiment more valid, each student is given two additional measure; animal interest inventory and reading ability test. The data are collected and analyzed using ANACOVA with 2 covariates. The results are as follows: There are significantly different among the five groups (p< .01). A pair comparison results show that the only control group (p< .05). These findings indicate that reading activities have some effects on the learning science-concept achievement, particularly the passage synthesizing. | |
dc.format.extent | 396831 bytes | |
dc.format.extent | 432939 bytes | |
dc.format.extent | 564782 bytes | |
dc.format.extent | 570209 bytes | |
dc.format.extent | 327324 bytes | |
dc.format.extent | 501966 bytes | |
dc.format.extent | 1169785 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ด้วยการอ่าน | en |
dc.title.alternative | Science-concept learning achievement by reading | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Benjawon_Ro_front.pdf | 387.53 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Benjawon_Ro_ch1.pdf | 422.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Benjawon_Ro_ch2.pdf | 551.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Benjawon_Ro_ch3.pdf | 556.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Benjawon_Ro_ch4.pdf | 319.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Benjawon_Ro_ch5.pdf | 490.2 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Benjawon_Ro_back.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.