Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรนุช จงศรีสวัสดิ์-
dc.contributor.authorอิงคนิจ ชลไกรสุวัฒน์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-16T04:14:01Z-
dc.date.available2006-09-16T04:14:01Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745317594-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2510-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความผิดปกติของ Villin ในผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตันและผู้ป่วยโรคตับชนิดที่มีน้ำดีคั่งจากสาเหตุอื่นๆ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของ villin ในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันกับความรุนแรงของโรค วิธีการศึกษา: ชิ้นเนื้อตับจากผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะตัวเหลืองชนิดที่มีน้ำดีคั่งทำการตรวจย้อมด้วย monoclonal antibody ของ villin ซึ่งแบ่งเป็น โรคท่อน้ำดีตีบตันจำนวน 21 คน โรคตับชนิดที่มีน้ำดีคั่งจากสาเหตุอื่นๆ จำนวน 4 คน และกลุ่มควบคุมที่ได้จากผู้บริจาคตับ จำนวน 6 คน โดยผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตัน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ favorable outcome (ค่า total bilirubin มากกว่าหรือเท่ากับ 2 mg/dl หลังจากผ่าตัดโดยวิธี Kasai's operation เป็นระยะเวลา 1 ปี) และ unfavorable outcome (ค่า total bilirubin [is more than or equal to] 2 mg/dl หลังจากผ่าตัดโดยวิธี Kasai's operation เป็นระยะเวลา 1 ปี หรือเสียชีวิต) ส่วนผลการย้อม villin จะแบ่งเป็น ผลบวก และผลลบ โดยผลบวก คือ การย้อม Villin ติดทั้งที่ apical cell และรอบ cell membrane ของ bile ductular cell ส่วนผลลบ คือ การย้อม villin ติดเฉพาะบริเวณ apical cell ของ bile ductular cell เท่านั้น ผลการศึกษา: ผลการย้อม villin จากชิ้นเนื้อตับพบว่าผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตัน 18 คน จาก 21 คน และกลุ่มควบคุม 2 คน จาก 6 คน มีผลการย้อม villin เป็นผลบวก ส่วนผู้ป่วยโรคตับชนิดที่มีน้ำดีคั่งจากสาเหตุอื่นๆ ทุกคนมีผลการย้อม villin เป็นผลลบ ซึ่งผลการย้อม villin ของผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคตับชนิดที่มีน้ำดีคั่งจากสาเหตุอื่นๆ และกลุ่มควบคุม ส่วนผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตันชนิด favorable และ unfavorable outcome ผลการย้อม villin ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป: ผลการย้อม villin อาจจะช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคตับชนิดที่มีน้ำดีคั่งในผู้ป่วยเด็กได้ นอกจากนี้ผลการย้อม villin ไม่มีความสัมพันธ์กับ prognostic outcome ในผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตันen
dc.description.abstractalternativeObjectives: To compare the abnormalities of villin in patients with cholestatic liver diseases and to correlate the difference of villin with prognostic outcome of biliary atresia. Methods: Stored liver specimens of 21 children with biliary atresia, 4 children with other cholestatic liver diseases, and 6 donors of liver transplantation as the control group were stained with monoclonal antibody of villin. Biliary atresia patients were classified into favorable outcome (total bilirubin < 2 mg/dl at 1 year post Kasais operation) and unfavorable outcome (total bilirubin [is more than or equal to] 2 mg/dl at 1 year post Kasais operation or death at enrollment). Villin positive was defined by staining on apical cell and pericellular membrane of the bile ductular cell, whereas villin negative was staining only on apical cell of the bile ductular cell. Results: Villin staining of 18/21 biliary atresia patients and 2/6 normal controls were positive. In contrast, all patients with other cholestatic liver diseases hadnegative villin staining. This difference was statistical significant when compared biliary atresia, other cholestatic liver diseases, and normal controls. There was no statistical difference of villin staining between biliary atresia patients with favorable and unfavorable outcome. Conclusions: The pattern of villin staining may be useful in the differential diagnosis of cholestatic jaundice in children. There was no correlation between villin staining and prognostic outcome of biliary atresia.en
dc.format.extent590999 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทารก--โรคen
dc.subjectวิลลินen
dc.subjectภาวะน้ำดีคั่งen
dc.subjectท่อน้ำดีตีบตันen
dc.titleความผิดปกติของวิลลินในผู้ป่วยเด็กทารกที่เป็นโรคท่อน้ำดีตีบตัน และโรคตับชนิดที่มีน้ำดีคั่งจากสาเหตุอื่น ๆen
dc.title.alternativeAbnormalities of villin in infants with biliary atresia and other cholestatic liver diseasesen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineกุมารเวชศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Engcanit.pdf629.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.