Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิศนา แขมมณี-
dc.contributor.authorผาณิต เย็นแข, 2505--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-05T08:54:24Z-
dc.date.available2006-06-05T08:54:24Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741703678-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/252-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนซิปปา เพื่อการพัฒนาจริยธรรมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจริยศึกษาและพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2544 โรงเรียนประถมสาธิตสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา สังกัดสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ จำนวน 2 กลุ่ม กลุ่มละ 46 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบง่าย กลุ่มทดลองจัดการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาเพื่อการพัฒนาจริยธรรม กลุ่มควบคุมจัดการสอนโดยใช้แผนแบบปกติ ผู้วิจัยดำเนินการสอนตามแผนการสอนที่สร้างขึ้นทั้ง 2 กลุ่ม ใช้เวลา 17 คาบ เครื่องมือที่สร้างขึ้น ได้แก่ แบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจริยศึกษา แบบสอบถามและแบบสังเกตพฤติกรรมเชิงจริยธรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (X) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจริยศึกษาของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมเชิงจริยธรรมจากแบบสอบถามและแบบสังเกตพฤติกรรมเชิงจริยธรรมได้ผลดังนี้ 2.1 จากแบบสอบถามพฤติกรรมเชิงจริยธรรม พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมด้านความขยันหมั่นเพียรระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ด้านความรับผิดชอบ และความมีระเบียบวินัย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คะแนนการปฏิบัติตนของนักเรียนโดยเฉลี่ยมีค่าเป็น 2.95 หมายความว่า การปฏิบัติตนอยู่ในเกณฑ์ดี 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมเชิงจริยธรรม พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ด้านความขยันหมั่นเพียร และความมีระเบียบวินัย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คะแนนการปฏิบัติตนของนักเรียนโดยเฉลี่ยมีค่าเป็น 13.39 หมายความว่า พฤติกรรมเชิงจริยธรรมอยู่ในระดับดีen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to study effects of employing CIPPA instructional model for moral development on learning achievement in moral education and moral behaviors of prathom suksa four students. The samples of this study were 92 prathom suksa four students the Primary Demonstration School, Rajabhat Suansunandha Institute, Bangkok Metropolis. They were randomed and divided into two groups, 46 students each. The experimental group was taught by using CIPPA instructional model for moral development ; while the control group was taught by conventional method. Both groups were taught for 17 weeks. In this study, there were 3 research instruments. The first one was the achievement test, the second one was the questionnaire and the third one was an observation form. The data of this study were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation, t-test and ANCOVA. The findings indicated that : 1. The post tests on achievement of the experimental group was higher than those of the control group at the .05 level of significance. 2. Moral behaviors from questionnaire form of the experimental group was higher than those of the control group at the .05 level of significance. Moral behaviors of students were 2.95 which was at a "good" level. 3. Moral behaviors from observation form of the experimental group was higher than those of the control group at the .05 level of significance. Moral behaviors of students were 13.39 which was at a "good" level.en
dc.format.extent7199510 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.549-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจริยศึกษา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectการพัฒนาจริยธรรมen
dc.titleผลของการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาเพื่อการพัฒนาจริยธรรมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจริยศึกษาและพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeEffects of employing CIPPA instructional model for moral development on learning achievement in moral education and moral behaviors of prathom suksa four studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTisana.K@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.549-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bhanit.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.