Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25330
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต-
dc.contributor.authorรัตนา นุตมากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-22T08:42:00Z-
dc.date.available2012-11-22T08:42:00Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745644218-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25330-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เงื่อนไขการให้อรรถกรและการชี้แนะต่อพฤติกรรมทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดแจงร้อน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นห้องที่จัดเป็นพิเศษสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางพฤติกรรมจำนวน 21 คน การวิจัยนี้ใช้การทดลองแบบหลายเส้นฐานข้ามพฤติกรรม ซึ่งพฤติกรรมเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ พฤติกรรมการเล่าข่าวหน้าชั้นเรียน การทำงานของวิชาที่เรียนในคาบที่ 2 ของทุกวันตามที่ครูมอบหมายเสร็จในเวลาที่กำหนด และการทำงานของวิชาที่เรียนในคาบที่ 2 ได้ถูกต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของปริมาณงานนั้น ผู้วิจัยได้ใช้วิธีเปลี่ยนเกณฑ์ในการเพิ่มพฤติกรรมการทำงานได้ถูกต้อง การบันทึกและรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยได้บันทึกความถี่ของการเกิดพฤติกรรมการเล่าข่าวหน้าชั้นเรียน ความถี่ของการทำงานของวิชาที่เรียนในคาบที่ 2 ของทุกวันตามที่ครูมอบหมายเสร็จในเวลาที่กำหนด และจำนวนร้อยละของความถูกต้องของการทำงานของวิชาที่เรียนในคาบที่ 2 ตลอดระยะเส้นฐานและระยะทดลองของนักเรียนทั้งห้อง แล้วนำผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยเสนอในรูปของตารางและกราฟ ผลการทดลองพบว่าพฤติกรรมทางการเรียนทั้ง 3 พฤติกรรมนี้เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate whether token economy conditioning and prompting have any effects on academic behaviors. The subjects were twenty – one students with behavioral problems in Prathom Suksa One from Wat Changron School, Bangkok. The multiple - baseline design was used in this study. The target academic behaviors in this experiment were informing news. In front of the classroom, finishing the second period’s assignments in time, and doing at least 80 percents of these assignments correctly. Token economy conditioning and prompting were introduced to each behavior in series. In addition, this experiment also used the changing – criterion design increase percentage of correct answers to at least 80 percents Data were collected and recorded in the form of frequency for the first and second target behavior and percentage of correct answers, for baseline and treatment were calculated and presented in the form of tables and graphs. Results show that the three academic behaviors increased when the treatment was introduced.-
dc.format.extent468106 bytes-
dc.format.extent1235813 bytes-
dc.format.extent420263 bytes-
dc.format.extent644997 bytes-
dc.format.extent415318 bytes-
dc.format.extent328018 bytes-
dc.format.extent495734 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการใช้เงื่อนไขการให้เบี้ยอรรถกร และการชี้แนะต่อพฤติกรรมทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีปัญหาทางพฤติกรรมen
dc.title.alternativeEffects of token economy conditioning and prompting on the academic behaviors of prathom suksa one students with behavioral problemsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattana_Nu_front.pdf457.13 kBAdobe PDFView/Open
Rattana_Nu_ch1.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Rattana_Nu_ch2.pdf410.41 kBAdobe PDFView/Open
Rattana_Nu_ch3.pdf629.88 kBAdobe PDFView/Open
Rattana_Nu_ch4.pdf405.58 kBAdobe PDFView/Open
Rattana_Nu_ch5.pdf320.33 kBAdobe PDFView/Open
Rattana_Nu_back.pdf484.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.