Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25381
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชัยศักดิ์ หรยางกูร | |
dc.contributor.author | สุธาสินี สุภา | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T10:03:55Z | |
dc.date.available | 2012-11-22T10:03:55Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.isbn | 9741711999 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25381 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดและหลักเกณฑ์ความรับผิดและความคุ้มกันของผู้ประนอมข้อพิพาท เพื่อเสนอการพิจารณาประเด็นดังกล่าวไว้ในกฎหมายต้นแบบว่าด้วยการประนอมข้อพิพาททางพาณิชย์ระหว่างประเทศ UNCITRAL ซึ่งจะส่งผลให้การระงับข้อพิพาทโดยวิธีประนอมข้อพิพาทมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น จากการศึกษาในร่างกฎหมายต้นแบบของ UNCITRAL พบว่ามีแนวคิดที่สำคัญต่อการกำหนดความรับผิดและความคุ้มกันของผู้ประนอมข้อพิพาท 2 เรื่องด้วยกัน คือ แนวคิดเรื่องการการทำหน้าที่ในลักษณะกึ่งอนุญาโตตุลาการของผู้ประนอมข้อพิพาท และแนวคิดการรักษาความลับของผู้ประนอมข้อพิพาท แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีข้อสรุปหรือบทบัญญัติที่ชัดเจนและแน่นอนในการยอมรับสถานะของผู้ประนอมข้อพิพาทว่ามีลักษณะกระทำกึ่งตุลาการ ดังนั้น ผู้เขียนจึงเห็นว่าไม่ควรกำหนดประเด็นดังกล่าวไว้ในกฎหมายต้นแบบของ UNCITRAL เนื่องจากอาจไม่ได้รับการยอมรับและเป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติ จึงควรขึ้นอยู่กับความสมัครใจของแต่ละประเทศ สำหรับความรับผิดของผู้ประนอมข้อพิพาทในระบบกฎหมายไทย ผู้เขียนเห็นว่าในความรับผิดทางแพ่งผู้ประนอมข้อพิพาทอาจจะต้องรับผิดทางสัญญาและทางละเมิด ส่วนความรับผิดทางอาญา ปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายกำหนดความรับผิดกรณีผู้ประนอมข้อพิพาทเปิดเผยความลับในกระบวนการประนอมข้อพิพาท ดังนั้นจึงเห็นควรบัญญัติเพิ่มเติมในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 ให้ผู้ประนอมข้อพิพาทมีความรับผิดฐานเปิดเผยความลับ รวมทั้งควรมีการบัญญัติกฎหมายกรณีมีข้อยกเว้นให้สามารถเปิดเผยความลับได้ และควรปรับปรุงกฎหมายลักษณะพยานให้สอดคล้องกับหลักการรักษาความลับของกระบวนการประนอมข้อพิพาท ส่วนความรับผิดฐานรับสินบนนับเป็นความผิดร้ายแรงที่ส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของกระบวนการประนอมข้อพิพาทและความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ดังนั้น จึงเห็นควรกำหนดความรับผิดกรณีผู้ประนอมข้อพิพาทรับสินบนในประมวลกฎหมายอาญา นอกจากนี้ควรพิจารณาให้ความคุ้มกันจากการถูกฟ้องร้องแก่ผู้ประนอมข้อพิพาท หากได้ปฏิบัติหน้าที่โดยสุจริตและอยู่ภายในขอบอำนาจของตน | |
dc.description.abstractalternative | This thesis is a study concepts and principles in defining liabilities and immunity from liabilities of conciliator in the proposals for consideration under the making of the Model Law on Conciliation of UNCITRAL which shall have impact on settlement of dispute through a more efficient and reliable process. The study finds that the drafting of the Model Law of UNCITRAL discussed on two major thoughts on liabilities and immunity of conciliator. First is the semi-arbitral function of the conciliator and second, is the duty to guard confidentiality of the conciliator. However, it seems that there is no clear conclusion or provision about the issue on the semi-arbitrator’s status of the conciliator. The author therefore has the opinion that this issue should be left out from the Model Law for it would be rather difficult to seek a consensus on the matter. Than it should be chosen by each country. Regarding the liabilities of conciliator under the Thai legal system, the author thinks that the conciliator has both the contractual and delictual liabilities under the purview of the civil liability. At present there is no law specifying the liability of conciliator when he discloses a confidentiality under the conciliator process. It is therefore proper to revise art 323 of the Penal Code to add a provision to govern the case where the conciliator disclose such a confidentiality. The law should also spells out the exemption for proper disclosure. The law on evidence should be amended to keep it in line with the confidentiality protection under the conciliation process. The offence to bribe-taking is a serious crime which affects the trust-worthiness of the conciliation process and well being of the economy. The penal liability of the conciliator should be governed by the Penal Code. On the top of that there should be a law on the immunity of the conciliator when he carried out his duty in good faith and within the scope of his authority. | |
dc.format.extent | 2743163 bytes | |
dc.format.extent | 2654528 bytes | |
dc.format.extent | 11686005 bytes | |
dc.format.extent | 30344262 bytes | |
dc.format.extent | 25512271 bytes | |
dc.format.extent | 4505038 bytes | |
dc.format.extent | 13744915 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ความรับผิดและความคุ้มกันของผู้ประนอมข้อพิพาทในข้อพิพาททางพาณิชย์ระหว่างประเทศ | en |
dc.title.alternative | Liabilities and immunity of conciliators in international commercial deputes | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthasinee_su_front.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthasinee_su_ch1.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthasinee_su_ch2.pdf | 11.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthasinee_su_ch3.pdf | 29.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthasinee_su_ch4.pdf | 24.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthasinee_su_ch5.pdf | 4.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthasinee_su_back.pdf | 13.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.