Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ คงสมบูรณ์
dc.contributor.advisorวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
dc.contributor.authorนีรนุช อันทวงษา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-22T10:05:28Z
dc.date.available2012-11-22T10:05:28Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.isbn9741746865
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25384
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2546en
dc.description.abstractการฟื้นฟูกิจการมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่ประสบปัญหาทางการใช้เงินให้สามารถดำเนินธุรกิจต่อไปได้โดยมิต้องล้มละลาย ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการต่างๆ ที่เอื้อต่อความสำเร็จ ในการฟื้นฟูกิจการ เช่น มาตรา 94(2) ซึ่งยอมให้หนี้ที่ก่อขึ้นเพื่อการฟื้นฟูกิจการในขณะที่ลูกหนี้มีหนี้สินลิ้นพ้นตัวมีสิทธิขอรับชำระหนี้ได้ แต่ปัญหาสำคัญประการหนึ่งที่เกิดขึ้นคือบ่อยครั้งที่ลูกหนี้ต้องการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการที่จำเป็นเพื่อให้ธุรกิจดำเนินต่อไปนั้น พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 กลับไม่มีบทบัญญัติที่ชัดเจนในการให้ความคุ้มครองสิทธิของเจ้าหนี้ที่ช่วยเหลือลูกหนี้ในระหว่างฟื้นฟูกิจการในกรณีที่ลูกหนี้เข้าสู่กระบวนการล้มละลายหรือมีการยกเลิกการฟื้นฟูกิจการซึ่งอาจเป็นข้อจำกัดที่ทำให้การฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายไทยไม่อาจเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด และโครงสร้างของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดให้มีรูปแบบของบุริมสิทธิที่สอดคล้องกับการทำธุรกิจในการจัดหาแหล่งเงินทุน เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินต่อไปได้ ตลอดจนการให้ความคุ้มครองสิทธิของเจ้าหนี้อย่างเหมาะสม รวมทั้งเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของการเกิดขึ้นของเจ้าหนี้รายใหม่และการทำให้เสื่อมเสียสิทธิของเจ้าหนี้ที่มีอยู่เดิมในระหว่างฟื้นฟูกิจการ ดังนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยการเสนอแนะแนวทางและการแก้ไขเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติของพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในครอบคลุมหลักการดังต่อไปนี้ 1.กำหนดให้หนี้ที่ก่อขึ้นตามมาตรา 90/12 (9) ได้รับบุริมสิทธิในฐานะหนี้ค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานพิทักษ์ในการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ตามมาตรา 130 (2) 2.กำหนดให้สิทธิของเจ้าหนี้ตามมาตรา 90/77 วรรคสาม ในกรณีที่กิจการของลูกหนี้ยังไม่มีแผนฟื้นฟูกิจการให้มีความชัดเจนและยืดหยุ่นมากขึ้น และสามารถสร้างมาตรการในการให้ความคุ้มครองสิทธิของเจ้าหนี้ที่มีอยู่เดิมให้มีความเหมาะสม 3.กำหนดให้หนี้ที่ก่อขึ้นเพื่อประโยชน์ในการฟื้นฟูกิจการตามมาตรา 90/75 (3) ได้รับบุริมสิทธิในการขอรับชำระหนี้ในลำดับเดียวกับค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ตามมาตรา 130 (2) ไม่ใช่มาตรา 253 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
dc.description.abstractalternativeThe objective of business reorganization is to rescue debtors with financial difficulties and to prevent them from bankruptcy. Therefore, there are measures to facilitate the proceeding such as the measures under section 94 (2) of the bankruptcy act which allowed the capital injection during insolvency. One main difficulty which is seemed very often is the lack of provision to protect new creditors giving credit to debtors under reorganization. This very important protection is significant once the debtor goes in to bankruptcy or is released from reorganization. Thailand's Bankruptcy Act B.E. 2483 (A.D.1940)The research has its objective to study the concepts and structure of laws relating to priority of business credit. It also studies the appropriate protection of these creditors. It also intends to compare and contrast the advantages and disadvantages of the creation of new creditors and losses of existing creditors' in reorganization. Thus, this thesis purposes the solution to solve the problem and purposes amendment of the Bankruptcy Act B.E. 2483 (A.D.1940) and others related laws as shown below : 1. Set the priority for the debts incurred under section 90112 (9) as the expenses debt of the receiver in managing the debtor's assets in accordance with section 130 (2) 2. Precisely and flexibility establish the rights of creditor under section 90177 paragraph 3 in case that the debtor has no reorganization plan and set appropriate safeguards for the rights of pre-creditor .3. Specify the priority for the debts in a purpose of business operation during the reorganization process in accordance with section 90175 (3) receive a repayment of the debt in the same rank as the expenses of receiver for administration of the debtor's assets pursuant to section 130 (2) is not a priority under section 253 of the Civil and Commercial Code.
dc.format.extent2994607 bytes
dc.format.extent2285833 bytes
dc.format.extent14412593 bytes
dc.format.extent18063256 bytes
dc.format.extent15961774 bytes
dc.format.extent18177193 bytes
dc.format.extent3217586 bytes
dc.format.extent1481805 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleบุริมสิทธิในหนี้เพื่อการฟื้นฟูกิจการen
dc.title.alternativePriority in debts for business reorganizationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Neeranoot_un_front.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_ch1.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_ch2.pdf14.07 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_ch3.pdf17.64 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_ch4.pdf15.59 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_ch5.pdf17.75 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_ch6.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open
Neeranoot_un_back.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.