Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ยงกิตติกุล-
dc.contributor.authorรุ่งนภา ทีฆะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-23T09:28:40Z-
dc.date.available2012-11-23T09:28:40Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25692-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ ความเชื่ออำนาจภายใน – นอกตน และผลสัมฤทธิผลทางการเรียน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชาย 200 คนและนักเรียนหญิง 200 คน อายุ 10 – 13 ปี สุ่มจากนักเรียนในระดับชั้นประถมปีที่ 3 ประถมปีที่ 4 ประถมปีที่ 5 และประถมปีที่ 6 ปีการศึกษา 2522 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามอัตมโนทัศน์ของเพียรส์และแฮริส แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายใน – นอกตนของแครนดอลล์และคณะและสัมฤทธิผลทางการเรียนประจำภาคกลาง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน สร้างสมการถดถอยพหุคูณ ทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางและทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยวิธีของนิวแมน – คูลส์ ผลการวิจัยพบว่า 1. อัตมโนทัศน์ (X₁) ความเชื่ออำนาจภายใน – นอกตน (X₂) และสัมฤทธิผลทางการเรียน (X₃) มีความสัมพันธ์กันในทางบวก และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01(r X₁ X₂ = 0.590, r X₁ X₃ = 0.560, r X₂ X₃ = 0.663) 2. นักเรียนที่มีอัตมโนทัศน์ และ ความเชื่ออำนาจภายในตนสูง มีสัมฤทธิผลทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่มีอัตมโนทัศน์ และเชื่ออำนาจภายในตนต่ำ และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.สมการถดถอย พหุคูณทำนายสัมฤทธิผลทางการเรียน (z’) จากคะแนนอัตมโนทัศน์ (z[subscript 1]) และความเชื่ออำนาจภายใน-นอกตน (z[subscript 2]) สำหรับกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มเขียนในรูปของคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ 3.1 ระดับชั้นประถมปีที่ 3 z’= 0.18 z[subscript 1] +0.648z[subscript 2’] R=0.769 3.2 ระดับชั้นประถมปีที่ 4 z’= 0.211z[subscript 1]+0.615z[subscript 2’] R=0.776 3.3 ระดับชั้นประถมปีที่ 5 z’= 0.348z[subscript 1]+0.511z[subscript 2’] R= 0.808 3.4 ระดับชั้นประถมปีที่ 6 z’ = 0.415z[subscript 1]+ 0.508z[subscript 2’] R= 0.819 4. อัตมโนทัศน์ของนักเรียนระดับชั้นประถมปีที่ 4 ประถมปีที่ 5 และประถมปีที่ 6 สูงกว่านักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความเชื่ออำนาจภายในตนของนักเรียนระดับชั้นประถมปีที่ 5 และประถมปีที่ 6 สูงกว่านักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 และมีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5.อัตมโนทัศน์และความเชื่ออำนาจภายในตนของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิงไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the relationships between self-concept, Locus of Control and Acadamic Achievement. The subjects were 200 boys and 200 girls, age 10 – 13, randomized from the third to sixth grade during the 1978 acadamic year of five elementary schools in Chachoengsao. Self- concept and Locus of Control were assessed by the Fiers and Harris Children’s Self-concept Scale and Intelligence Achievement Responsibility Scale, respectively. Acadamic achievement was determined from Grade Point Average in the middle term. Statistical methods used were Pearson Product Moment Correlation, Stepwise Multiple Regression Analysis, T-Test, Two-Way analysis of varience, and differences between groups were tested by Newman-Kuels Test. The level of significance was set at .01. The major findings were as follows:- 1. There was significant correlation between Self-Concept (X₁ ), Locus of Control (X₂) and Acadamic achievement (X₃) at .01 level. (r X₁ X₂ = 0.590, r X₁ X₃ = 0.560, r X₂ X₃ =0.663) 2. Higher degree of self-concept and internal control students had higher degree of academic achievement than lower degree of self-concept and internal students, and there were significant differences at .01 level. 3. Multiple Regression Equation of Acadamic achievement (z’) from self-concept scores (z[subscript 1]) and locus of control scores (z[subscript 2]) in standard scores of each subject group was : 3.1 3th grade z’= 0.18z[subscript 1]+0.648z[subscript 2’] R=0.769 3.2 4th z’ = 0.211z[subscript 1]+ 0.615z[subscript 2’] R=0.776 3.3 5th z’ = 0.348z[subscript 1]+ 0.511z[subscript 2’] R=0.808 3.4 6th z’ = 0.415z[subscript 1]+ 0.508z[subscript 2’]R=0.819 4. The fourth, fifth and sixth grade subjects had higher degree of self-concept than the third grade ones, and there were significant differences at .01 level the fifth and the sixth grade had higher degree of internal control than the third grade, and there were significant differences at .01 level. 5. There was no significant difference in self-concept and locus of control between male and female student groups.-
dc.format.extent405127 bytes-
dc.format.extent1419771 bytes-
dc.format.extent513361 bytes-
dc.format.extent430299 bytes-
dc.format.extent442451 bytes-
dc.format.extent381452 bytes-
dc.format.extent620873 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ ความเชื่ออำนาจภายในภายนอกตน และสัมฤทธิผลทางการเรียนen
dc.title.alternativeRelationships between self-concept, locus of control and academic achievementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungnapa_Te_front.pdf395.63 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_Te_ch1.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_Te_ch2.pdf501.33 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_Te_ch3.pdf420.21 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_Te_ch4.pdf432.08 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_Te_ch5.pdf372.51 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_Te_back.pdf606.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.