Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25694
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชุติมา ไตรรัตน์วรกุล | |
dc.contributor.advisor | จีรวรรณ จีระกิจจา | |
dc.contributor.author | ธนพร พิศาลชัยยงค์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-23T09:29:27Z | |
dc.date.available | 2012-11-23T09:29:27Z | |
dc.date.issued | 2546 | |
dc.identifier.isbn | 9741737416 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25694 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเป็นยาคลายกังวลของยาไดอะซีแปม และยามีดาโซแลมชนิดรับประทานต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคออทิสซึ่มระหว่างการรักษาทางทันตกรรม โดยทำการศึกษาในผู้ป่วยจำนวน 13 คน อายุระหว่าง 5.8 – 14.7 ปี แบบเปรียบเทียบผลของยาสองชนิดในคนๆเดียวกัน แบ่งการรักษาเป็นสองครั้ง และสุ่มตัวอย่างแบบง่ายให้ผู้ป่วยเพื่อรับประทานยาชนิดหนึ่งชนิดใดในครั้งแรก และยาอีกชนิดในครั้งที่สอง ขนาดยาไดอะซีแปมที่ใช้คือ 0.3 มก./กก.(น้ำหนักตัว) และยามีดาโซแลม คือ 0.5 มก./กก.(น้ำหนักตัว) ทั้งสองเป็นชนิดรับประมาน ร่วมกับการสูดดมก๊าซไนทรัสออกไซด์ / ออกซิเจน ทำการรักษาทางทันตกรรมโดยทันตแพทย์คนเดียว และประเมินผลพฤติกรรมการหลับ การขยับร่างกาย และการร้องไห้โดยทันตแพทย์อีกคนหนึ่ง ซึ่งมีความแม่นยำในการประเมินร้อยละ 87.88 ทำการประเมินทั้งสิ้น 60 นาที ผลของยามีดาโซแลมต่อพฤติกรรมการหลับนั้นดีกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากผลของยาไดอะซีแปม ในช่วงใส่ผ้าห่อตัว, ฉีดยาชา, ใส่แผ่นยางกันน้ำลาย และช่วงนาทีที่ 20 (p<0.05) ส่วนผลต่อพฤติกรรมการขยับร่างกาย และการร้องไห้นั้นยามีดาโซแลมก็ให้ผลคะแนนที่ดีกว่า และแตกต่างจากผลของยาไดอะซีแปมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในช่วงเวลาตั้งแต่เริ่มการรักษาจนถึงช่วงนาทีที่ 35 และ 40 ตามลำดับ (p<0.05) และช่วงเวลาที่เหลือจากนั้นไม่พบความแตกต่างของยาทั้งสองอย่างมีรัยสำคัญทางสถิติ สำหรับลักษณะพฤติกรรมโดยรวมระหว่างการรักษา ได้กำหมดเกณฑ์ไว้ว่ายาต้องมสามารถผู้ป่วยที่ได้รับจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีพฤติกรรมอยู่ในกลุ่มที่ “ดี” และ “ดีมาก” จึงจะแสดงว่ายานั้นมีประสิทธิภาพในการเป็นยาคลายกังวล ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับยาไดอะซีแปมนั้น จัดอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมดี ร้อยละ 23.08 และดีมาก ร้อยละ 53.85 ในขณะที่ผู้ป่วยที่ได้รับยามีดาโซแลมนั้นมีลักษณะอยู่ในพฤติกรรมกลุ่มดี ร้อยละ 23.08 และ ดีมาก ร้อยละ 76.92 ซึ่งแสดงว่ายาทั้งสองชนิดมีประสิทธิภาพในการเป็นยาคลายกังวล แต่เมื่อทดสอบทางสถิติแล้วพบว่ายามีดาโซแลมมีประสิทธิภาพสูงกว่ายาไดอะซีแปมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( chi-square = 0.012,df = 1 ) ทั้งนี้ไม่พบว่าผู้ป่วยรายใดที่เกิดอาการข้างเคียงไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับยาทั้งสองชนิด | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to study and compare the sedative effect of diazepam and midazolam in the autistic patients during dental treatment. Cross-over design was studied with 13 subjects, age 5.8-14 .7 years. Each patient was allocated to first or second group by simple random sampling. Diazepam at dosage of 0.3 mg/kg body weight or midazolam at dosage of 0.5 mg/kg body weight were given orally combined with nitrous oxide/oxygen inhalation. All dental treatments were operated by one dentist. Patients' sleeping, body movement and crying behaviors were rated by another dentist with intraexaminer reliability of 87.88%. For the sleeping behavior, midazolam showed better result and statistically significant difference from diazepam at the time of papoose board placing, injection, rubber dam application and at the 20 minute interval. (p<0.05) For the body movement and crying behavior, midazolam also provided better results and significant differences from the start of treatment until the 35 and 40 minute intervals respectively . (p<0.05) But for the rest of the treatment, there was no significantly difference in these behaviors between both drugs . (p>0.05) The drug was defined as effective when over 70% of the patients taken the drug were rated as "good" and "very good" in overall behavior. The result of this study showed the patients recieving diazepam were categorized into good 23.08% and very good 53.85% while the patients recieving midazolam yielded 23.08% good and 76.92% very good categories which showed that both drugs are effective as sedative agents .But with statistic test, midazolam showed higher effectiveness statistically than diazepam . (chisquare = 0.012, df = 1 ) Oral diazepam and midazolam used as sedative agents for autistic dental patients in this study exhibited no undesirable side effects. | |
dc.format.extent | 2659404 bytes | |
dc.format.extent | 4342491 bytes | |
dc.format.extent | 12267787 bytes | |
dc.format.extent | 4663311 bytes | |
dc.format.extent | 3794078 bytes | |
dc.format.extent | 3427871 bytes | |
dc.format.extent | 10752504 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ประสิทธิภาพในการเป็นยาคลายกังวลระหว่างการรักษาทางทันตกรรมของยาไดอะซีแปม และยามีดาโซแลมชนิดรับประทานในผู้ป่วยโรคออทิสซึ่ม | en |
dc.title.alternative | The sedative effects of oral diazepam and midazolam in the dental treatments of autistic patients | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ทันตกรรมสำหรับเด็ก | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tanaporn_pi_front.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanaporn_pi_ch1.pdf | 4.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanaporn_pi_ch2.pdf | 11.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanaporn_pi_ch3.pdf | 4.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanaporn_pi_ch4.pdf | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanaporn_pi_ch5.pdf | 3.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanaporn_pi_back.pdf | 10.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.