Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวรรณา กิจภากรณ์-
dc.contributor.authorณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสัตวบาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาสรีรวิทยา-
dc.date.accessioned2006-09-18T11:53:53Z-
dc.date.available2006-09-18T11:53:53Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2600-
dc.description.abstractจากการทดลองใช้ยูเรียเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนในกระต่ายลูกผสมพันธุ์นิวซีแลนด์ไวท์ และแคลิฟอร์เนียนอายุ 6 สัปดาห์ จนถึง 14 สัปดาห์ จำนวน 80 ตัว เป็นเพศผู้และเพศเมียอย่างละครึ่ง แบ่งเป็น 4 ชุดๆ ละ 5 กลุ่มๆ ละ 4 ตัว เพศผู้ 2 ตัว เพศเมีย 2 ตัว กระต่ายเหล่านี้ได้รับอาหารที่มีเปอร์เซนต์โปรตีน 16% และใช้ยูเรียแทนที่ในระดับ 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2% ในอาหาร ทำการเจาะเลือดทุกสัปดาห์เพื่อตรวจวัดค่า hematocrit, plasma urea nitrogen, plasma protein albumin และ globulin ผลการทดลองพบว่าการใช้ยูเรียเป็นแหล่งโปรตีนแทนที่กากถั่วเหลืองในทุกระดับให้ผลไม่แตกต่างกันทั้งในเพศผู้และเพศเมีย โดยมีค่าเฉลี่ยของอัตราการเจริญเติบโตตลอด 8 สัปดาห์ เป็น 1.02, 0.98, 0.92, 0.95 และ 0.94 กิโลกรัม ปริมาณอาหารที่กินเป็น 3.76, 3.85, 3.84, 3.71 และ 3.58 กิโลกรัม และประสิทธิภาพในการเปลี่ยนอาหารเป็น 3.80, 4.01, 4.30, 3.96 และ 3.88 สำหรับค่า hematocrit, plasma urea nitrogen, plasma protein และ globulin ไม่มีความแตกต่างเช่นกัน (P > .05) ส่วนค่า plasma albumin มีความแตกต่างกันเฉพาะในเรื่องเพศ (P < .05) โดยที่เพศผู้มีค่าสูงกว่าเพศเมีย และต้นทุนค่าอาหารในการเพิ่มน้ำหนักกระต่าย 1 กิโลกรัม ในกลุ่มที่ได้รับยูเรียในระดับ 2% จะต่ำสุดen
dc.description.abstractalternativeA study on the utilization of urea as protein supplements was carried out on eighty crossbred rabbits at the average age of 6 weeks. Five levels of urea concentration; 0% (T1), 0.5% (T2), 1.0% (T3), 1.5% (T4) and 2% (T5) were added to 16% protein basal diet. The experiment consisted of 4 replications with 2 meles and 2 females for each replicate for each urea level. All rabbits had been given urea treated diet for 8 weeks duration. Blood samples were collected weekly from ear blood vessel for measurements of hematocrit, plasma protein, plasma albumin and globulin concentrations. The results in present study showed no significance in the growth rate, feed intakes and feed conversion in comparison between cither levels or sex. Growth rate in an 8 weeks duration trials of T1 to T5 were 1.02, 0.98, 0.92, 0.95 and 0.94 kilogram, while the efficiency of feed conversion were 3.80, 4.01, 4.30, 3.96 and 3.88 respectively. There were no differences in hematocrit, plasma urea nitrogen, plasma protein and globulin concentration of either levels or sex whereas plasma albumin concentration of male rabbits was significantly higher than female. In the terms of feed cost, urea supplement at the level 2% gave the lowest cost of production in 1 kilogram weight gain.en
dc.format.extent5957397 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระต่าย -- การเลี้ยงen
dc.subjectอาหารสัตว์en
dc.subjectยูเรียen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบแหล่งอาหารเสริมโปรตีนและอาหารหยาบต่อคุณลักษณะของกระต่าย : การใช้ยูเรียเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารกระต่าย : รายงานผลการวิจัยประจำปี 2528en
dc.title.alternativeUrea as a protein supplement for growing rabbiten
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorSuwanna.Ki@Chula.ac.th-
dc.email.authorNarongsak.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SuwannaEff.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.