Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2608
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุมลยา กาญจนะพังคะ | - |
dc.contributor.author | ศิลป์ชัย เพียรชอบ | - |
dc.contributor.author | จงกล เจียรสุวรรณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-09-19T02:20:34Z | - |
dc.date.available | 2006-09-19T02:20:34Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2608 | - |
dc.description.abstract | ประเมินสถานภาพเชื้อตัวผู้จากน้ำเชื้อโรคและกระบือแช่แข็ง และน้ำเชื้อสดสุกรโดยใช้สารเรืองแสงทั้งวิธีแห้งและเปียก เพื่อแยกเชื้อตัวผู้ที่เป็น/ตายออกจากกัน พร้อมทั้งแยกพวกที่มีสันอโครโซมปกติ (มีศักยภาพในการจะเกิดปฏิกิริยาอโครโซมได้) ออกจากพรากที่เกิดปฏิกิริยาอโครโซมจริงและพวกที่มีอโครโซมเสียหายหรือลอกหลุดด้วย ในการประเมินสถานภาพโดยใช้วิธีแห้งนั้นต้องใช้ความเข้มข้นของสารเรืองแสงเป็น 5 microgram/ml เท่านั้น จึงสามารถพบเชื้อตัวผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ได้ ถ้าประเมินสถานภาพหลังจากนั้น 7 วัน (D7) พบเชื้อตัวผู้ตายมากขึ้น (โค 41.3%กระบือ 24.4% และสุกร 18.5%) หากทิ้งไว้ 14 วันจะไม่สามารถประเมินสถานภาพเชื้อตัวผู้จากน้ำเชื้อแช่แข็ง (โคและกระบือ) ได้ เพราะเชื้อตัวผู้ตายทั้งหมด ส่วนน้ำเชื้อสด (สุกร) 14 วันหลังการทดลองพบมีตัวตายเพิ่มขึ้นจากวันที่ทำการทดลอง 16.5% สำหรับการประเมินสถานภาพโดยวิธีเปียกที่ใช้ความเข้มข้นของสารเรืองแสงต่างกัน (10 และ 20 microgram/ml) พบว่าจำนวนเชื้อตัวผู้เป็นที่มีสันอโครโซมปกติ และจำนวนเชื้อตัวผู้ตายทั้งหมดเปลี่ยนแปลงไปน้อยมากในทุกช่วงเวลา (DO, D7 และ D14) ผลจากการทดลองครั้งนี้ชี้แนะว่าควรใช้ความเข้มข้นของสารเรืองแสง 5 microgram/ml ในวิธีแห้ง และ 10 หรือ 20 microgram/ml ในวิธีเปียก เมื่อสารเรืองแสงจับกับ DNA ของเชื้อตัวผู้แล้ว ตรวจได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ phase contrast แต่จะไม่สามารถจำแนกสถานภาพของอโครโซมได้อย่างสมบูรณ์ ต้องใช้กล้องจุลทัศน์ฟลูออเรสเซนตรวจร่วมด้วย สำหรับการจำแนกสถานภาพของอโครโซมนั้นขอแนะนำให้ใช้กล้องจุลทัศน์ dark field และการเตรียมน้ำเชื้อโดยวิธีเปียกทำให้สามารถแยกตัวเป็น/ตายออกจากกันได้ รวมทั้งสามารถจำแนกเชื้อตัวผู้ที่มีศักยภาพในการจะเกิดปฏิกิริยาอโครโซม ออกจากพวกที่เกิดปฏิกิริยาอโครโซมแล้ว และพวกที่มีอโครโซมเสียหายหรือลอกหลุด | en |
dc.description.abstractalternative | Boar, bulls and buffalo bulls fresh and frozen semen are differentiated for viability/non viability and also for the true acrosome reaction using fluorochrome. The living and damaged or altered membrane spermatozoa are also measured. Normal, living spermatozoa are only noted when using 5 microgram/ml fluorochrome in the dry preparation. Evaluation 7 days afterward (D7) reveals and increase in damaged spermatozoa (bull 41.3% buffalo bull 24.4% and boar 18.5%). Determination is irrelevant after 14 days (D14) using dry preparation in bull and buffalo bull semens (frozen semen). All sperms are fluorescence on D14. Damaged or altered membrane of the unfixed sperm allow the dye to penetrate into the cell where it binds strongly to DNA. Boar semen (fresh) on day 14 has 16.5% more fluorescence sperms than DO. Fluorochrome concentrations (10 or 20 microgram/ml) using in wet preparation do not have a drastic effect on viability of spermatozoa. Number of viable sperms with normal acrosomal ridge (having potential to develop acrosome reaction) and all the nonviable sperms are about the same at D0, D7 and D14. Concentration of fluorochrome should be reduced to 5 microgram/ml in dry preparation and either 10 or 20 microgram/ml in wet preparation. Binding with the sperm DNA, fluorochrome concentrations used in our study can be examined incompletely through phase contrast microscope. To be able to differentiate between true acrosome reaction and degenerative postmortem loss of acrosomal membrane, microscope equipped with UV-excitation has to be employed. In addition, we find that the dark field microscope gives the best result in differentiating acrosome status and reaction. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2538 | en |
dc.format.extent | 4916558 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สารเรืองแสง | en |
dc.subject | อโครโซม | en |
dc.subject | อสุจิ | en |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์คุณภาพน้ำเชื้อ : ใช้สีเรืองแสงบ่งบอกปฏิกริยาอโครโซมที่เกิดขึ้นจริง | en |
dc.title.alternative | Technique to a more accurate semen evaluation : fluorochrome to differentiate the true acrosome reaction | en |
dc.type | Technical Report | en |
Appears in Collections: | Vet - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SumolyaT.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.