Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายใจ อินทรัมพรรย์-
dc.contributor.authorสุเพ็ญ พรหมลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-27T11:36:05Z-
dc.date.available2012-11-27T11:36:05Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745637106-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26440-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่งที่มีสภาพแวดล้อมทางภาษาต่างกันในเขตการศึกษา 11 2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่งที่มีสภาพแวดล้อมทางภาษาคล้ายกันในเขตการศึกษา 11 3.เพื่อสำรวจทัศนคติและปัญหาในการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่งมีสภาพแวดล้อมทางภาษาต่างกันในเขตการศึกษา 11 วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถาม 1 ชุด เพื่อใช้กับตัวอย่างประชากรซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่งจากโรงเรียนรัฐบาล 20 แห่งในเขตการศึกษา 11 จำนวน 409 คน แล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติ โดยหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนที่พูดได้หนึ่งภาษากับนักเรียนที่พูดได้สองภาษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่พูดได้หนึ่งภาษากับนักเรียนที่พูดได้สามภาษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนที่พูดได้สองภาษาและนักเรียนที่พูดได้สามภาษา ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีสภาพแวดล้อมทางภาษาคล้ายกัน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.นักเรียนที่พูดได้สามภาษามีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนภาษาในระดับมากได้แก่ มีความเคารพรักอาจารย์ที่สอนภาษาไทยทุกชั้นเป็นพิเศษ มีความกระตือรือร้นถ้าคะแนนภาษาไทยต่ำกว่าเพื่อนในกลุ่ม คิดว่าภาษาไทยคือเครื่องมือในการถ่ายทอดวิชาความรู้ต่างๆ ทุกสาขา ทำแบบฝึกหัดหลักภาษาด้วยตนเองคิดว่าผลการเรียน ท 101 ตรงกับความสามารถของตน ชอบเรียนภาษาไทย โดยเฉพาะทักษสัมพันธ์ ชอบเขียนจดหมายจริงมากกว่าทำในสมุดแบบฝึกหัดชอบอ่านเรื่องร้อยแก้วมากกว่าร้อยกรองในหนังสือทักษสัมพันธ์ ส่วนนักเรียนที่พูดได้สองภาษาและนักเรียนที่พูดได้หนึ่งภาษาก็มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนภาษาไทยในระดับมากคล้ายกับนักเรียนที่พูดได้สามภาษาเช่นกัน 4.ปัญหาที่พบ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่งในเขตการศึกษา 11 ส่วนมากไม่ชอบเรียนหลักภาษาไทยเพราะว่ายากแต่ชอบเรียนทักษสัมพันธ์มากกว่า-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study : 1.To compare the achievement in learning Thai of Mathayom Suksa One students with different linguistic environments in educational region eleven. 2.To compare the achievement in learning Thai of boys and girls with the same linguistic environment in educational region eleven. 3.To survey the attitude and problems in learning of Mathayom Suksa One students with different linguistic environments in educational region eleven. Procedures: The questionnaire constructed by the researcher was sent to 409 Mathayom Suksa One students from 20 government schools in educational region eleven. The data were analyzed, tabulated by means of percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test. Results: 1.The achievement in learning Thai of monolingual students was significantly different from bilingual students; in the same way it was significantly different from trilingual too at the level of 0.05. But the achievement in learning Thai of bilingual students and trilingual was not significantly different at the level of .05. 2.The achievement in learning Thai of boys and girls with the same linguistic environment was not significantly different at the level of .05. 3.The attitude in learning Thai of trilingual students considered at the high level were that: they specially respected Thai language’s teachers who taught them, if their scores were lower than their friends, they would be more conscientious. Thai language was used as tool in transmitting knowledge, they did Thai grammar exercise by themselves, they thought that their achievement score test (T 101) was relevant to their ability, they preferred to learn Thai language especially TAKSASAMPHAN BOOK, they preferred to read essay rather than poetry in TAKSASAMPHAN BOOK. and the attitude in learning Thai of bilingual students and monolingual students considered at the high level were the same as the trilingual students. 4.The problem found was that Mathayom Suksa One students did not like to learn Thai grammar because it was difficult but they preferred to learn TAKSASAMPHAN.-
dc.format.extent422972 bytes-
dc.format.extent537401 bytes-
dc.format.extent1705798 bytes-
dc.format.extent333883 bytes-
dc.format.extent634304 bytes-
dc.format.extent630392 bytes-
dc.format.extent734413 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่ง ที่มีสภาพแวดล้อมทางภาษาต่างกันในเขตการศึกษา 11en
dc.title.alternativeA comparison of the achievement in learning Thai of mathayom suksa one students with different linguistic environments in educational region elevenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supen_Pr_front.pdf413.06 kBAdobe PDFView/Open
Supen_Pr_ch1.pdf524.81 kBAdobe PDFView/Open
Supen_Pr_ch2.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
Supen_Pr_ch3.pdf326.06 kBAdobe PDFView/Open
Supen_Pr_ch4.pdf619.44 kBAdobe PDFView/Open
Supen_Pr_ch5.pdf615.62 kBAdobe PDFView/Open
Supen_Pr_back.pdf717.2 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.