Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณศิลป์ พีรพันธุ์
dc.contributor.authorปรีดา หุตะจูฑะ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-28T03:15:49Z
dc.date.available2012-11-28T03:15:49Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.isbn9741758499
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26515
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของชุมชนบ้านบางแม่หม้าย 2) ศึกษารูปแบบและเอกลักษณ์การตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้าย ความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตระบบกิจกรรม และการใช้พื้นที่ 3) ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้าย 4) เสนอแนะรูปแบบการตั้งถิ่นฐาน และแนวทางการอนุรักษ์ชุมชนที่เหมาะสม เพื่อรักษาเอกลักษณ์ของชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้าย พัฒนาการของชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้ายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีลักษณะที่ค่อยเป็นค่อยไป โครงสร้างและองค์ประกอบส่วนใหญ่ของชุมชนริมน้ำซึ่งมีการพัฒนาต่อเนื่องมาตั้งแต่อดีตมีความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นอย่างดี แม้ในระยะหลังการชุมชนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วขึ้น จากการพัฒนาโครงสร้างและองค์ประกอบของชุมชนที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นชุมชนริมน้ำ โดยเฉพาะการพัฒนาเส้นทางถนนที่ตัดผ่านชุมชนทำให้รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชุมชนเริ่มมีการขยายตัวไปตามเส้นทางถนน แต่เมื่อเปรียบเทียบในภาพรวมของชุมชนแล้วการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังถือเป็นส่วนน้อยของชุมชน ชาวบ้านส่วนใหญ่ยังคงมีความต้องการที่จะอยู่อาศัยบริเวณริมน้ำต่อไป โดยจะเห็นได้จากรูปแบบของวิถีชีวิต ระบบกิจกรรม และการใช้พื้นที่ของชาวบ้านยังคงมีรูปแบบดั้งเดิมของชาวน้ำเป็นส่วนใหญ่ อาคารบ้านเรือนภายในชุมชนส่วนใหญ่ยังคงมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนริมน้ำดั้งเดิม คือ เรือนไทยเดิม เรือนไทยประยุกต์ และกลุ่มเรือนที่เรียงแถวในแนวลึกที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้าย ผลจากการศึกษานำมาสู่การเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา และอนุรักษ์ชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้าย ได้แก่การส่งเสริมให้ชาวบ้านรักษาเอกลักษณ์ที่ดีงามของชุมชนไว้อย่างยั่งยืน การเสนอแนะรูปแบบการใช้ที่ดิน รูปแบบทางสถาปัตยกรรม และภูมิสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับชุมชน และแนวทางการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีความเหมาะสมกับสภาพชุมชน
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are : 1) to study the development of settlement patterns of Ban Bang Mae Mai waterfront community ; 2) to study the characteristics and the identity of the community ‘s settlement community as well as the relationship between the way of life. Activity system, and space usage; 3) to study the problem of the community's settlement and the development trend of the community; and 4) to propose appropriate settlement patterns and conservation guidelines for the community to protect its identity. The study reveals that the community has been gradually developed. The structure and the components of the community which have been developed continously coexist very well with the natural environment. At the present, the community has been changed quicklier due to the inconsistency of the new structure and components with the waterfront environment, especially new road construction which has generated new settlement patterns along the roadsides. However, when considering the overall picture, the change has occurred only within small parts of the community. Most people still want to live with the waterfront environment. The people's traditional way of life, activities, and space usage still exist. Traditional architecture, traditional Thai houses, comtemporary Thai houses, and traditional housing orientation are still popular within the community. The results of the study lead to the proposed development and conservation guidelines for Ban Bang Mae Mai community. They include the encouragement of local people to protect the community identity and the guidelines for future land use control, architectural and landscape design, and cutural tourism development.
dc.format.extent5098212 bytes
dc.format.extent2441240 bytes
dc.format.extent10385359 bytes
dc.format.extent3588099 bytes
dc.format.extent14661548 bytes
dc.format.extent23629537 bytes
dc.format.extent73415734 bytes
dc.format.extent12093180 bytes
dc.format.extent1471329 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.titleพัฒนาการและรูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมน้ำบ้านบางแม่หม้าย จังหวัดสุพรรณบุรีen
dc.title.alternativeDevelopment and settlement patterns of the waterfront community of Ban Bang Mae Mai, Suphan Buri Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวางผังเมืองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preeda_hu_front.pdf4.98 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch1.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch2.pdf10.14 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch3.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch4.pdf14.32 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch5.pdf23.08 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch6.pdf71.7 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_ch7.pdf11.81 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_hu_back.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.