Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26643
Title: Factors affecting the demand for formal long-term care of elderly : a case study in the municipality of muang district, Pathum Thani Province
Other Titles: ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการการดูแลระยะยาวอย่างเป็นทางการสำหรับ ผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในเขตเทศบาลเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
Authors: Chathaya Wongrathanandha
Advisors: Worawet Suwanrada
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: Worawet.S@Chula.ac.th
Subjects: Demand (Economic theory)
Older people -- Thailand -- Pathum Thani
Older people -- Services for
Older people -- Care
Older people -- Long-term care
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Background: Older people need long-term care due to increasing health problems. Pathum Thani Province had rising numbers of elderly; however, there was no study about formal long-term care for elderly. Objectives: To study the demand for formal long-term care of elderly and factors affecting it. Methods: Interviewed 85 elderly sampled from the Municipality of Muang District, Pathum Thani Province with questionnaires consisted of general and health data, and price scenario of different types of care. The relationship between dependent and independent variables were analyzed by repeated measure binary logistic regression. Results: Dependent elderly relied on informal long-term care. Only 1 elderly used formal home caregiver service. More of the independent elderly demanded to hire home caregiver than those who would use residential home service, even though the latter was better known. Probability of utilization of full-time, daytime home care and residential home service were 6.4, 0.3 and 0.3 percent accordingly. Higher income increased the odds of demand and higher service price decreased them like normal goods and services. Need factors increased the likelihood of using formal care, except for residential home. Other factors affecting the demand were slightly different among the three types.
Other Abstract: ที่มา: ผู้สูงอายุมีความจำเป็นต้องได้รับการดูแลระยะยาวเนื่องจากปัญหาสุขภาพที่มากขึ้นตามวัย จังหวัดปทุมธานีมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นแต่ยังขาดข้อมูลของการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลระยะยาวอย่าง เป็นทางการสำหรับผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความต้องการการดูแลระยะยาวอย่างเป็นทางการ ของผู้สูงอายุและปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการดังกล่าว วิธีการศึกษา: สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ 85 รายซึ่งสุ่มจากเขตเทศบาลเมืองปทุมธานี ด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป สุขภาพ และสถานการณ์จำลอง ด้านราคาของบริการประเภทต่างๆ จากนั้นวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ ด้วยสมการถดถอยโลจิสติกแบบวัดผลซ้ำ ผลการศึกษา: ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพิงส่วนใหญ่ได้รับการดูแล ระยะยาวอย่างไม่เป็นทางการจากครอบครัว มีเพียง 1 รายที่ใช้บริการจ้างผู้ดูแลมาที่บ้าน ในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งยังไม่ต้องพึ่งพิง ผู้ที่มีความต้องการจ้างผู้ดูแลมาที่บ้านมีจำนวนมากกว่าผู้ที่เลือกไปอยู่บ้านพักคนชรา แม้ว่า ส่วนใหญ่จะรู้จักบ้านพักคนชรามากกว่า ความน่าจะเป็นของการใช้บริการดูแลที่บ้านเต็มเวลา เฉพาะกลางวัน และ บ้านพักคนชรา คือ ร้อยละ 6.4, 0.3 และ 0.3 ตามลำดับ รายได้ที่มากขึ้นเพิ่มโอกาส การใช้บริการ และราคาที่สูงขึ้นของบริการทำให้โอกาสลดลง ดังเช่นสินค้าและบริการทั่วไป ความจำเป็นด้านสุขภาพเป็นปัจจัยที่ทำให้แนวโน้มการใช้บริการดูแลผู้สูงอายุอย่างเป็นทางการเพิ่มขึ้น ยกเว้นบริการบ้านพักคนชรา ปัจจัยอื่นๆมีความแตกต่างกันเล็กน้อยในการดูแลอย่างเป็นทางการทั้ง 3 ประเภท
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Economics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26643
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1737
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1737
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chathaya_wo.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.