Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26756
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงแก้ว ปุณยกนก | - |
dc.contributor.author | สุพรรณี ปาจรียพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T11:32:54Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T11:32:54Z | - |
dc.date.issued | 2519 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26756 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทดลองว่า นักเรียนที่อ่านโดยการขีดเส้นใต้จำได้ดีกว่านักเรียนที่อ่านธรรมดาหรือไม่ และเวลาที่ใช้ในการทบทวนมีผลต่อการจำหรือไม่ ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนผดุงดรุณี โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรมหาวิทยาลัย โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ปีการศึกษา 2519จำนวน 320 คน ซึ่งตัวอย่างประชากรนี้จะถูกสุ่มอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 อ่านโดยการขีดเส้นใต้และใช้เวลาในการทบทวนเนื้อเรื่องที่อ่าน 10 นาที กลุ่มที่ 2 อ่านโดยการขีดเส้นใต้และใช้เวลาในการทบทวนเนื้อเรื่องที่อ่าน 20 นาที กลุ่มที่ 3 อ่านธรรมดาและใช้เวลาในการทบทวนเนื้อเรื่องที่อ่าน 10 นาที กลุ่มที่ 4 อ่านธรรมดาและใช้เวลาในการทบทวนเนื้อเรื่องที่อ่าน 20 นาที ในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น ให้นักเรียนที่ผู้วิจัยนำมาให้อ่าน 3 เรื่องแล้วให้อ่านทบทวนทีละเรื่อง และให้สอบด้วยแบบสอบวัดความสามารถในการจำที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นทีละเรื่องไป แล้วนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณหาค่ามัชฌิมเลขาคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนในการทดสอบความมีนัยสำคัญของความแตกต่างของคะแนนความสามารถในการจำโดยเฉลี่ยนั้น ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมแบบ 2 x 2 โดยมีคะแนนความสามารถในการอ่าน ซึ่งแสดงได้ด้วยคะแนนสอบไล่วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 ของกลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแปรร่วมและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกันโดยใช้ค่าเฉลี่ยที่ปรับแล้ว ซึ่งผลปรากฏดังต่อไปนี้ 1.คะแนนความสามารถในการจำของนักเรียนที่อ่านโดยการขีดเส้นใต้สูงกว่าคะแนนความสามารถในการจำของนักเรียนที่อ่านธรรมดา ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 2.คะแนนความสามารถในการจำ ของนักเรียนที่อ่านทบทวน 10 นาทีไม่แตกต่างกับคะแนนความสามารถในการจำของนักเรียนที่อ่านทบทวน 20 นาที ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 3.ปฏิกิริยาร่วมของวิธีการอ่านและช่วงเวลาที่ใช้ในการทบทวนมีผลร่วมกันต่อคะแนนความสามารถในการจำแตกต่างกัน ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this thesis was to study the method of underlining reading and to ascertain whether reading with underlining was superior to reading without underlining and also to determine whether the length of time for reviewing had any effect on the ability to remember or not. The samples used in this study were 320 M.S. 1 students from Padung Darunee School, the Demonstration School of Chulalongkorn University and Bangkok Christian College during the academic year of 1976. At each school the students were divided into four groups by simple random sampling. The four groups were:- Group 1 using the underlining method and reviewing time for 10 minutes; Group 2 using the underlining method and reviewing time for 20 minutes; Group 3 not using the underlining method and using reviewing time for 10 minutes; and Group 4 not using the underlining method and using reviewing time for 20 minutes. The sample students were assigned to read 3 stories. At the end of each reviewing of each story the students were required to undertake a memory test using forms supplied by the author. An arithmetic mean and a standard, deviation of the scores from the memory tests were computed for each group. To compare the differences among the groups, the 2 x 2 analysis of covariance and the adjusted means were used. The covariates used for this study were the samples’ scores from their Parthom suksa 7 final examination in Thai language. The results were:- 1.The students reading with underlining showed a higher ability to remember than those students reading without underlining. (.01 level) 2.There was no significant difference between the scores of those students using 10 minutes review time and those students using 20 minutes review time (.05 level) 3.The interaction effect between the methods of reading and the length of time spent in reviewing is statistically significant (.05 level). | - |
dc.format.extent | 431337 bytes | - |
dc.format.extent | 495652 bytes | - |
dc.format.extent | 922618 bytes | - |
dc.format.extent | 520033 bytes | - |
dc.format.extent | 446706 bytes | - |
dc.format.extent | 434462 bytes | - |
dc.format.extent | 1049008 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษาการอ่านโดยการขีดเส้นใต้ | en |
dc.title.alternative | A study of the underlining reading | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supannee_Pa_front.pdf | 421.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supannee_Pa_ch1.pdf | 484.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supannee_Pa_ch2.pdf | 900.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supannee_Pa_ch3.pdf | 507.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supannee_Pa_ch4.pdf | 436.24 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supannee_Pa_ch5.pdf | 424.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supannee_Pa_back.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.