Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวุฒิ จิราสมบัติ-
dc.contributor.authorวรรณสิริ จงกลสิริ, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-21T09:38:19Z-
dc.date.available2006-09-21T09:38:19Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741753152-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2685-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษากลวิธีการชักชวนในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย และความสัมพันธ์ของการเลือกใช้กลวิธีการชักชวน กับปัจจัยเรื่องสถานภาพทางสังคม ความสนิทสนมของผู้พูดผู้ฟังและเนื้อความการชักชวน ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจากการสังเกตบทสนทนาตามธรรมชาติ การบันทึกบทสนทนาจริงทางโทรศัพท์ และการแสดงบทบาทสมมติของกลุ่มตัวอย่างชาวญี่ปุ่นและชาวไทย จำนวนกลุ่มละ 10 คู่ ผลการศึกษากลวิธีการชักชวนในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทยพบว่า ในภาษาญี่ปุ่นมีกลวิธีสร้างสภาพแวดล้อมการชักชวนหรือการเกริ่นนำ 9 วิธีคือ บอกข้อมูล บอกความประสงค์ อธิบายเหตุผลการชักชวน ถามความสะดวก ถามสภาพการณ์ ถามความชื่นชอบ ถามยืนยันข้อมูลและถามความรู้ ขณะที่กลวิธีสร้างสภาพแวดล้อมการชักชวนในภาษาไทย พบเพียง 8 วิธีคือ ไม่พบการถามความรู้ผู้ฟัง ในด้านกลวิธีแสดงวัจนกรรมการชักชวนพบว่าแบ่งออกได้เป็น 3 วิธีใหญ่ๆ ได้แก่ วิธีแบบตรง วิธีแบบอ้อมธรรมเนียมปฏิบัติ และวิธีแบบอ้อมไม่ใช่ธรรมเนียมปฏิบัติ วิธีแบบตรงเป็นกลวิธีที่ผู้พูดภาษาญี่ปุ่นและผู้พูดภาษาไทยเลือกใช้มากที่สุด แต่ผู้พูดภาษาญี่ปุ่นนิยมใช้วิธีแบบอ้อมธรรมเนียมปฏิบัติ และวิธีแบบอ้อมไม่ใช่ธรรมเนียมปฏิบัติมากกว่าผู้พูดภาษาไทย ส่วนการบอกข้อมูลเชิงบวกหลังการแสดงวัจนกรรมการชักชวนในภาษาญี่ปุ่นพบ 4 ประเภทคือ ข้อมูลที่ชี้ว่าการกระทำนั้นไม่เป็นภาระแก่ผู้ฟัง การกระทำนั้นเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง การกระทำนั้นเป็นประโยชน์แก่ผู้พูด และการกล่าวอ้างถึงบุคคลที่สาม ส่วนในภาษาไทยพบข้อมูลเชิงบวกเพียง 3 ประเภท โดยไม่พบข้อมูลเชิงบวกที่ชี้ว่าการกระทำนั้นเป็นประโยชน์แก่ผู้พูด นอกจากนี้ การเลือกใช้กลวิธีการชักชวนเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับปัจจัยเรื่องสถานภาพทางสังคม ความสนิทสนมของผู้พูดผู้ฟังและเนื้อความการชักชวน โดยที่ทั้งผู้พูดภาษาญี่ปุ่นและผู้พูดภาษาไทย จะเลือกใช้กลวิธีให้สอดคล้องกับปัจจัยดังกล่าวen
dc.description.abstractalternativeTo investigate and compare the strategies of invitation in Japanese and Thai, by analyzing them under the social status, relationship of the interlocutors and the degree of difficulty of the issue. The data was collected from 3 sources, from the conversations roleplayed by 10 pairs of Japanese speakers and 10 pairs of Thai speakers; the other was collected from naturally occuring conversations, from conversations on the telephone. The findings from the conversation analysis indicated that the Japanese used 9 different types of speech in their preliminary announcements: telling information, stating desire, reasoning, asking about convenience, asking about present circumstance, asking about preferences, confirming and asking about knowledge. In Thai, 8 types are found. Asking for knowledge which is found in Japanese is not found in Thai. Strategies of invitation in Japanese and Thai can be divided into 3 types: direct, conventionally indirect and non-conventionally indirect. Direct is mostly used by Japaneseand Thai speakers. But Japanese speakers use both conventionally indirect and non-conventionally indirect with higher frequency than Thai speakers. In Japanese, there are 4 ways of providing inducements for acceptance; adding that the action is convenient, the action will benefit the listener, the action will benefit the speakers and referring to a third person. In Thai, only 3 ways are found. Adding that the action will benefit the speaker is not found in Thai. In addition, the choice of the strategies is related to the social status, relationship of interlocutors and the degree of difficulty of the issue because Japanese and Thai speakers tend to decide on different strategies while taking into account these factors.en
dc.format.extent1912142 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1243-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาญี่ปุ่น--การใช้ภาษาen
dc.subjectภาษาไทย--การใช้ภาษาen
dc.subjectภาษาเปรียบเทียบen
dc.titleการศึกษาเปรียบต่างกลวิธีการชักชวนในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทยen
dc.title.alternativeA contrastive study of invitation strategies in Japanese and Thaien
dc.typeThesisen
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineภาษาและวรรณคดีญี่ปุ่นen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVoravudhi.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1243-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wansiri.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.