Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26897
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | หรรษา ปุณณะพยัคฆ์ | - |
dc.contributor.advisor | มุกดา คูหิรัญ | - |
dc.contributor.author | สุภาภรณ์ โสภณพัฒนะโภคา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-29T06:42:42Z | - |
dc.date.available | 2012-11-29T06:42:42Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741738749 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26897 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | การเก็บตัวอย่างวัชพืชจำนวน 10 ชนิด ที่มีต้นสูงมากกว่า 1 เมตร จากการสำรวจในพื้นที่ 8จังหวัด คือ นครปฐม กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปทุมธานี ลำพูน และ นครราชสีมา พบวัชพืช 10 ชนิด ได้แก่ Coix aquatica Imperata cylindrica Panicum maximum Pennisetum polystachyon Pennisetum purpureum Phragmites karka Saccharum spontaneum Sorghum propinquum Thysanolaena maxima และ Typha angustifolia จากการศึกษาผลผลิตชีวมวล ปริมาณความชื้นขณะเก็บเกี่ยวในพืช องค์ประกอบ ของชีวมวล ปริมาณซัลเฟอร์ ปริมาณเถ้า และค่า heating value พบว่า วัชพืชที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมต่อการเป็นพืชพลังงานเพื่อการเผาไหมโดยตรง ได้แก่ T. maxima S. spontaneum และ I. cylindrica เนื่องจากมีค่าผลผลิตชีวมวลสูง (0.6-3.0 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) มีปริมาณ ซัลเฟอร์ต่ำ (0.09-0.12%) ปริมาณเถ้าต่ำ (4.95-6.27%) มีค่า heating value สูง (17.43-18.79 ล้านจูลต่อกิโลกรัม) และมีปริมาณความชื้นขณะเก็บเกี่ยวในพืชระหว่าง 58.84-73.12% ในการผลิตเอทานอลจากวัชพืชทั้ง 10 ชนิด ซึ่งใช้กระบวนการย่อยสลายและหมักแบบต่อเนื่องโดยใช้ เซลลูเลสจากเชื้อราทนร้อน Acrophiaiophora sp. UV10-2 และยีสต์ทนร้อน Kluyveromyces marxianus NRRL Y-1109 ภายใต้สภาวะเขย่า 125 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส pH 5.0 พบว่า c. aquatica ให้ผลผลิตเอทานอลสูงสุด คือ 4.9 กรัมต่อลิตร หรือเท่ากับ 0.16 กรัมต่อกรัมสับสเตรท (48.48% จากค่าทฤษฎี) เมื่อเพิ่มระดับการหมักไปเป็นถังหมักขนาด 5 ลิตร (batch process) พบว่า ได้ผลผลิตเอทานอล 8.8 กรัมต่อลิตร หรือเท่ากับ 0.18 กรัมต่อกรัมสับสเตรท (54.55% จากค่าทฤษฎี) หลังจากการกลั่นแบบ Simple distillation สามารถเพิ่มความ เข้มข้นเอทานอลไปเป็น96.8กรัมต่อลิตร (เพิ่มขึ้น11.02เท่า) | - |
dc.description.abstractalternative | Collection of 10 weed samples (height > 1m) from the exploration in 8 provinces including Nakompathom, Bangkok, Samuthprakarn, Chacheongsao, Chonburi, Pathumtani, Lumphun, and Nakomrachasnma found ten weeds including Coix aquatica, Imperata cylindrica, Panicum maximum, Pennisetum polystachyon, Pennisetum purpureum, Phragmites karka, Saccharum spontaneum, Sorghum propinquum, Thysanolaena maxima, and Typha angustifolia. The study on biomass yield, moisture content at harvest in plant, biomass composition, sulfur content, ash content, and heating value revealed that some of these weeds were found to have suitable properties as energy crops for direct combustion. T. maxima, S. spontaneum, and I. cylindrica had high biomass yields (0.6-3.0 kg/m²), low sulfur content (0.09-12%), low ash content (4.95-6.27%), high heating value (17.43-18.79 MJ/kg), and moisture content at harvest in plant between 58.84-73.12%. Ethanol production of 10 weeds using simultaneous saccharification and fermentation process (SSF) with cellulases from thermotolerant fungus, Acrophialophora sp. UV10-2, and thermotolerant yeast, Kluyveromyces marxianus NRRL Y-1109, was performed under shaking condition (125 rpm), 40 °c, and pH 5.0. The maximum ethanol yield was found to be 4.9 g/L or 0.16 g/g substrate (%conversion = 48.48%) for c. aquatica. When SSF process was performed in large scale, 5L femnentor (batch process), the ethanol yield was 8.8 g/L or 0.18 g/g substrate (%conversion = 54.55%). After distilling by simple distillation method, the higher concentration of ethanol was obtained 96.8 g/L (11.02 fold increased). | - |
dc.format.extent | 3397689 bytes | - |
dc.format.extent | 1092874 bytes | - |
dc.format.extent | 7652520 bytes | - |
dc.format.extent | 3969198 bytes | - |
dc.format.extent | 12928113 bytes | - |
dc.format.extent | 5391727 bytes | - |
dc.format.extent | 2813322 bytes | - |
dc.format.extent | 14773160 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | วัชพืชที่มีศักยภาพเป็นวัตถุดิบในการผลิตแอลกอฮอล์เชื้อเพลิง | en |
dc.title.alternative | Weed as potential raw materials for the production of fuel alcohol | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พฤกษศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supaporn_so_front.pdf | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_ch1.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_ch2.pdf | 7.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_ch3.pdf | 3.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_ch4.pdf | 12.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_ch5.pdf | 5.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_ch6.pdf | 2.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_so_back.pdf | 14.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.