Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorสุรชัย อนุเวชศิริเกียรติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T08:17:31Z-
dc.date.available2012-11-29T08:17:31Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741734751-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26952-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาระบบการวางแผนและควบคุมการผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องทำความร้อน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้วิชาการทางวิศวกรรมอุตสาหกรรม ด้านการวางแผนและควบคุมการผลิต การจัดตารางการผลิต และ ประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการปรับปรุงระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต จากการศึกษาพบว่าสาเหตุที่ทำให้ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ ไม่มีหน่วยงานวางแผนและควบคุมการผลิตและผู้รับผิดชอบโดยตรง ทำการวางแผนการผลิต โดยขาดทฤษฎี หลักการและข้อมูลที่จำเป็นในการวางแผนการผลิต และระบบสารสนเทศสำหรับการ วางแผนและควบคุมการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับปรุง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดย 1. การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร โดยเพิ่มหน่วยงานวางแผนและควบคุมการผลิต 2. การประยุกต์ใช้เทคนิคการวางแผนและควบคุมการผลิต เพื่อสร้างระบบการวางแผนและ ควบคุมการผลิตที่มีประสิทธิภาพ 3. การประยุกต์ใช้ซอฟแวร์ทางคอมพิวเตอร์ คือ Microsoft Access และ Visual Basic 6.0 เข้ามาช่วยในการจัดทำระบบฐานข้อมูลที่จำเป็นต่อการวางแผนและควบคุมการผลิต และเข้ามาช่วยในการวางแผนและควบคุมการผลิตผลจากการศึกษาและวิจัยพบว่า ภายหลังจากการปรับปรุง ทำให้ระบบการวางแผนและควบคุม การผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งสามารถลดอัตราการว่างงานเฉลี่ยของพนักงานลงจากเดิม 26.05% เป็น 13.45% ต่อเดือน โดยลดลงจากเดิม 12.60% สามารถลดอัตราการทำงานล่วงเวลาเฉลี่ยลงจากเดิม 18.98% เป็น 13.92% ต่อเดือน โดยลดลงจากเดิม 5.06% สามารถลดมูลค่าของวัตถุดิบคงคลังเฉลี่ยลง จากเดิม 31.33 เป็น 24.04 ล้านบาท โดยลดลงจากเดิม 7.29 ล้านบาท สามารถลดมูลค่าของสินค้าสำเร็จ รูปคงคลังเฉลี่ยลงจากเดิม 7.75 เป็น 4.75 ล้านบาท โดยลดลงจากเดิม 3 ล้านบาท และสามารถลดอัตรา งานเสร็จไม่ทันกำหนดส่งมอบลงจากเดิมเฉลี่ย 18.95% เป็นเฉลี่ย 8.82% ต่อเดือน โดยลดลงจากเดิม 10.13% นอกจากนี้ยังเป็นการช่วยสร้างและวิเคราะห์ระบบฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย ซึ่งช่วยให้สามารถตัดสินใจด้านบริหารการผลิตได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the problems of the lack of efficient production planning in heater manufacturing, and to purpose solution by applying industrial engineering knowledge such as production planning and control, production scheduling and computer software. In this research, the heater manufacturing factory had been used as a case study. The study has found that the significant factors affecting the effectiveness of the production planning are the absence of the production planning and control section .and lack of efficient information system. The researcher, therefore has present the approach in solving those problems as follows: 1. Reorganization by adding production planning and control section. 2. Applying production planning and control technique in order to establish efficient production planning and control system. 3. Applying Microsoft Access and Visual Basic 6.0 in order to set up database which is necessary for production planning and control and promote production planning and control system. The study and research indicated that with the implementation of these recommendation. This result in the decrease percentage of idle time of labor from 26.05% to 13.05% decrease by 12.60%, decrease percentage of overtime-working hour from 18.98% to 13.92% decrease by 5.06%, decrease raw materials inventory cost from 31.33 million to 24.04 million decrease by 7.29 million bath , decrease finish goods inventory cost from 7.75 million to 4.75 million decrease by 3 million bath and decrease delay of product delivery from 18.95% to 8.82% decrease by 10.13%. Additionally, the study also strengthened the application of database system to be more revitalized, and thereby helped enhanced prompt decision-making and effective production management.-
dc.format.extent4850965 bytes-
dc.format.extent955632 bytes-
dc.format.extent6908830 bytes-
dc.format.extent6254598 bytes-
dc.format.extent6882309 bytes-
dc.format.extent14637771 bytes-
dc.format.extent6583587 bytes-
dc.format.extent1972498 bytes-
dc.format.extent58159495 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการวางแผนและควบคุมการผลิตสำหรับโรงงานผลิตเครื่องทำความร้อนen
dc.title.alternativeProduction planning and control for heater manufacturing factoryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surachai_an_front.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch1.pdf933.23 kBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch2.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch3.pdf6.11 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch4.pdf6.72 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch5.pdf14.29 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch6.pdf6.43 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_ch7.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_an_back.pdf56.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.