Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27113
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชญ รัชฎาวงศ์ | - |
dc.contributor.advisor | วรางคณา พรรณรัตนศิลป์ | - |
dc.contributor.author | ลินดา เกษมสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-30T03:36:18Z | - |
dc.date.available | 2012-11-30T03:36:18Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741769598 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27113 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงความเป็นไปได้ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการกำจัดไนโตรเจนด้วยระบบบำบัดน้ำเสียแบบสำเร็จรูป เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงระบบที่มีอยู่ในปัจจุบัน ระบบบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปที่ใช้ทำการกำจัดไนโตรเจนในงานวิจัยนี้ เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบสำเร็จรูปชนิดเติมอากาศ โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 ชุดการทดลอง การทดลองชุดแรก ทำการศึกษาประสิทธิภาพในการกำจัดไนโตรเจนที่มีสภาพแอโรบิกและควบคุมอัตราไหลเข้าของน้ำเสีย เท่ากับ 30 ลิตร/วัน การทดลองชุดที่สอง เป็นการเดินระบบแบบแอนอกซิก-แอโรบิก โดยมีสัดส่วนของแอนอกซิก 40% และแอโรบิกเท่ากับ 60% ตามลำดับ การทดลองชุดที่สาม เพิ่มอัตราไหลเข้าของน้ำเสีย เท่ากับ 60 ลิตร/วัน และการทดลองชุดที่สี่ ทำการใส่ตัวกลางเข้าไปในชุดการทดลอง ในการทดลองทั้ง 4 ชุด ใช้น้ำเสียสังเคราะห์ที่มีค่าซีโอดี 300 มก./ล. ทีเคเอ็น 30 มก./ล. และทำการเดินระบบต่อเนื่อง โดยควบคุมอายุตะกอนเท่ากับ 10 วัน อัตราการสูบน้ำทิ้งกลับเข้าสู่ถังแอนนอกซิก และ อัตราการสูบตะกอนเวียนกลับภายในระบบเท่ากับ 1 เท่าของน้ำเสียเข้า ผลการทดลองที่ได้พบว่า การทดลองทั้งสี่ชุด มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี เท่ากับ 92.48, 97.18. 95.40 และ 96.85 % ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดไนโตรเจนทั้งหมดเท่ากับ 77.51, 83.30, 91.16 และ 92.75 % ตามลำดับ จากการทดลองจะเห็นได้ว่า การเพิ่มในส่วนถังแอนนอกซิกและการเพิ่มตัวกลางเข้าไปในระบบ ไม่ได้แสดงผลอย่างมีนัยสำคัญต่อประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี แต่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการกำจัดไนโตรเจนกระบวนการไนตริฟิเคชันเกิดได้ดีในทุกชุดการทดลอง ส่วนกระบวนการดีไนตริฟิเคชันไม่เกิดขึ้นในชุดการทดลองแรก เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยรวมในการกำจัดไนโตรเจนของทุกชุดการทดลอง โดยพิจารณาจากค่าไนโตรเจนทั้งหมด อัตราการเกิดไนตริฟิเคชันจำเพาะ และอัตราการเกิดดีไนตริฟิเคชันจำเพาะ สามารถสรุปได้ว่า ชุดการทดลองที่สี่ เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดไนโตรเจนสูงสุด โดยมีอัตราการเกิดกระบวนการไนตริฟิเนชันและอัตราการเกิดกระบวนการดีไนตริฟิเคชัน เท่ากับ 0.164 มก. NH3/มก. MLVSS-วัน และ 0.31 มก. NO3/มก. MLVSS-วันตามลำดับ ดังนั้นจากงานวิจัยจะเห็นได้ว่า การปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียแบบสำเร็จรูปที่มีอยู่เดิมให้สามารถกำจัดไนโตรเจนได้นั้น ทำได้โดยการดัดแปลงระบบบำบัดน้ำเสียแบบสำเร็จรูปที่มีการเติมอากาศ โดยนำมากั้นถังให้มีส่วนของถังแอนนอกซิกเพิ่มเข้ามาในระบบ ติดตั้งใบพัดกวนในถัง และติดตั้งเครื่องเครื่องสูบตะกอนหมุนเวียนภายใน เพื่อทำให้เกิดสภาพแอนนอกซิกและเกิดกระบวนการดีไนตริฟิเคชัน | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of the research is to compare the efficiency of nitrogen removal for on-site wastewater treatment in order to improve the recent system. The wastewater treatment system used in this research was the aerobic on-site package system. The experiment was divided into 4 phases. Phase 1, research was conducted under aerobic nitrogen removal and a maintenance of influent wastewater at the rate of 30 liters per day. Phase 2, the experiment was focused on the anoxic-aerobic system with a capacity of 40% for anoxic and 60% for aerobic. Phase 3, the experiment was set to increase the flow rate of wastewater up to 60 liters per day. Phase 4, additional of the media to 50% of tank volume was used. The synthetic wastewater with COD of 300 mg/l and TKN 30 mg/l were used for all experiments. Sludge Retention Time (SRT) was controlled at 10 days. The rate of return sludge and internal MLSS return flow rates were equal to that of the influent wastewater. Results indicated that the COD removal efficiency of this system in phase 1 to 4 were 92.48%, 97.18%, 95.40% and 96.85 %, respectively, and the total nitrogen removal efficiency were 77.51%, 83.30%, 91.16% and 92.75 %, respectively. The results also indicated that the addition of the anoxic zone and addition of media to the system leaded to an insignificant impact on the efficiency of the COD removal. However, it affected the nitrogen removal from the system while the nitrification process was not inhibited in all phases, and a denitrification process did not occur in the first phase. Based on the total nitrogen removal, result showed that the most effective mean of nitrogen removal was found in phase 4 through maximum nitrification rate and maximum denitrification rate of 0.164 mg. NH₃-N/mg. MLVSS-day and 0.31 mg. NO₃-N/mg. MLVSS-day, respectively. In conclusion, results suggested that modification of the recent system could be conducted by additional of an anoxic aerobic portion along with setting up the paddle and recycle pump to the system in order to increase anoxic condition and stimulate denitrification of the process. | - |
dc.format.extent | 4352847 bytes | - |
dc.format.extent | 1014995 bytes | - |
dc.format.extent | 9221477 bytes | - |
dc.format.extent | 3646814 bytes | - |
dc.format.extent | 16340999 bytes | - |
dc.format.extent | 1422635 bytes | - |
dc.format.extent | 10876461 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดไนโตรเจนของระบบบำบัดน้ำเสียแบบสำเร็จรูป | en |
dc.title.alternative | Comparision of nitrogen removal efficiency for on-site wastewater treatment | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Linda_ka_front.pdf | 4.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Linda_ka_ch1.pdf | 991.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Linda_ka_ch2.pdf | 9.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Linda_ka_ch3.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Linda_ka_ch4.pdf | 15.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Linda_ka_ch5.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Linda_ka_back.pdf | 10.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.