Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์-
dc.contributor.advisorพิชิต ศิริวรรณ-
dc.contributor.authorศิรประภา ทองกอบเพชร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-30T03:59:44Z-
dc.date.available2012-11-30T03:59:44Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745311545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractโรคปากแหว่งเพดานโหว่ (Oral Cleft) เป็นความพิการแต่กำเนิดที่เกิดขึ้นกับกะโหลกศีรษะและใบหน้า ที่พบได้บ่อย โรงปากแหว่งเพดานโหว่ จำแนกเป็นสองกลุ่มคือ มีปากแหว่งเพียงอย่างเดียว หรือปากแหว่งร่วมกับเพดานโหว่ (cleft lip with or with our cleft palate, CL/P) และมีเพดานโหว่เพียงอย่างเดียว (cleft palate only, CPO) อุบัติการณ์การเกิดนั้นแตกต่างกันออกไปในแต่ละกลุ่มประชากร ตั้งแต่ 1/500 – 1/2000 ในประเทศไทยมีอุบัติการณ์เกิดประมาณ 1/600 ในการศึกษานี้ มุ่งเน้นหาการกลายพันธุ์ของยีนที่เป็นสาเหตุของปากแหว่งเพดานโหว่ที่ไม่เกิดร่วมกับกลุ่มอาการได้แก่ยีน MSX1 และยีน PVRL1 โดยใช้ข้อมูลจาก association studies, linkage analyses, linkage disequilibrium และ animal model ที่สนับสนุนต่อการเกิดปากแหว่งเพดานโหว่ ในการศึกษานี้ตรวจหาการเปลี่ยนเบสในผู้ป่วย 100 คน และคนปกติ 100 คน เพื่อวิเคราะห์หาการกลายพันธุ์ในยีน MSX1 และยีน PVRL1 ที่เป็นสาเหตุของปากแหว่งเพดานโหว่ที่ไม่เกิดร่วมกับกลุ่มอาการ และทำการศึกษาเพิ่มเติมในผู้ป่วย 81 คน และคนปกติ 100 คน สำหรับอัลลีล V396M ในยีน PVRL1 ผลการตรวจหาการกลายพันธุ์ในยีน MSX1 พบการเปลี่ยนเบสทั้งหมด 8 ตำแหน่ง แบ่งเป็นการกลายพันธุ์ที่ยังไม่มีการรายงานมาก่อน 2 ตำแหน่ง (G267C และ P278S) โดยทั้งสองตำแหน่งอยู่ใน exon 2 และโพลิมอร์ฟิซึม 6 ตำแหน่ง ซึ่งมี 2 ตำแหน่งที่เคยมีรายงานว่าเป็นการกลายพันธุ์ (A30A และ P147Q) และมี 1 ตำแหน่งที่ไม่เคยมีรายงานมาก่อน (452-14delT) ส่วนยีน PVRL1 พบการเปลี่ยนเบสที่สันนิษฐานว่าเป็นการกลายพันธุ์ 1 ตำแหน่ง (V396M ในexon 6) เนื่องจากไม่พบอัลลีลดังกล่าวในโครโมโซมปกติ 400 โครโมโซม การกลายพันธุ์พบเฉพาะแอลฟาไอโซฟอร์ม ส่งผลให้มีรูปแบบการถ่ายทอดแบบยีนเด่นบนออโตโซมซึ่งแตกต่างจากที่เคยมีรายงานมาก่อน จากการศึกษานี้สรุปได้ว่าผู้ป่วยไทยที่เป็นโรคปากแหว่งเพดานโหว่พบการกลายพันธุ์ในยีน MSX1 ประมาณ 2% และ 1% ในยีน PVRL1 ส่งผลต่อการให้คำปรึกษาแนะนำทางพันธุศาสตร์กับผู้ป่วยและครอบครัว-
dc.description.abstractalternativeOral cleft is among the most severe congenital craniofacial malformations. Oral cleft consists of two major groups, cleft lip with or without palate (CL/P) and cleft palate only (CPO). The variability incidence of cleft lip and/or palate is related to geographic origin, and is estimate to occur 1/600 live birth in Thailand. CL/P incidence is 1/600. Our study focused on the mutations that are causation of non-syndromic CL/P. Using information from association studies, linkage analyses, linkage disequilibrium and animal models, we selected MSX1 and PVRL1 as candidate genes. In this study, 100 cases of nonsyndromic CL/P and 100 controls were sequenced for mutation analysis. An additional 81 patients and 100 controls were analyzed for the PVRL1 V396M. The results showed 8 genetic changes in MSX1. Six were nonpathogenic polymorphisms and the other two, G267C and P278S, were novel disease causing mutations. Of the six polymorphisms, one, 452-14delT, were novel and other two, A30A and P147Q, were previous reported as mutations. For PVRL1 mutation analysis, one non synnonymous change, V396M in exon 6, was found. It is presumably disease causing based on the nonexistence in 400 control chromosomes. It presents only in the alpha isoform of PVRL1 and may inherited in an autosomal dominant manner. In conclusion, we found that MSX1 and PVRL1 mutations are observed in 2% and 1% of Thai patients with nonsyndromic CL/P , respectively, having an implications in genetic counseling.-
dc.format.extent2175547 bytes-
dc.format.extent1637994 bytes-
dc.format.extent3358874 bytes-
dc.format.extent2257479 bytes-
dc.format.extent4533541 bytes-
dc.format.extent2174026 bytes-
dc.format.extent2258364 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการถ่ายทอดทางพันธุกรรม-
dc.subjectปากแหว่ง-
dc.subjectเพดานโหว่-
dc.subjectGenetic transformation-
dc.subjectCleft lip-
dc.subjectCleft palate-
dc.titleความโน้มเอียงทางพันธุกรรมของโรคปากแหว่งเพดานโหว่ที่ไม่เกิดร่วมกับกลุ่มอาการen
dc.title.alternativeGenetic predisposition for non-syndromic oral cleften
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การแพทย์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siraprapa_th_front.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Siraprapa_th_ch1.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Siraprapa_th_ch2.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open
Siraprapa_th_ch3.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Siraprapa_th_ch4.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open
Siraprapa_th_ch5.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Siraprapa_th_back.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.