Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา-
dc.contributor.authorวรรณพร พงษ์เพ็ง, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-22T04:37:06Z-
dc.date.available2006-09-22T04:37:06Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741766459-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2720-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาลักษณะการใช้ภาษาจินตภาพในพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน เพื่อแสดงให้ประจักษ์ว่า พระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้านมีลักษณะเด่นของการใช้ภาษาจินตภาพเพื่อบรรยายหรือพรรณนาให้ผู้อ่านสามารถเห็นภาพที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม รวมทั้งเพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกคล้อยตาม ผลการศึกษา พบว่า ในระดับคำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้คำเพื่อสร้างจินตภาพ ด้วยการเรียบเรียงคำให้เกิดเสียงสัมผัสพยัญชนะและสระระหว่างคำ การสร้างคำ โดยประกอบคำขึ้นใหม่และคิดคำเพื่อเรียกสิ่งแปลกใหม่ รวมทั้งการสรรคำโดยเลือกใช้คำแสดงสี แสง เสียง กลิ่น รส สัมผัส รูปร่างสัณฐาน และอาการ รวมทั้งนำคำมาใช้ในบริบทใหม่ ในระดับประโยค พระองค์ทรงใช้ประโยคที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ประโยคที่มีโครงสร้างขยายความแบบพิเศษ และประโยคที่มีการซ้ำโครงสร้าง เพื่อลำดับภาพ และขยายภาพ ในด้านการใช้ภาพพจน์ พระองค์ทรงใช้ภาพจน์แบบอุปมา อุปลักษณ์ ปุคลาธิษฐาน และสัทพจน์เป็นจำนวนมาก การใช้ภาษาจินตภาพทั้งหมดนี้ ส่งผลให้เกิดคุณค่า 2 ประการ ประการแรก คือ ทำให้พระราชนิพนธ์เรื่อง ไกลบ้านบรรจุวัตถุประสงค์ในการสื่อสาร ในฐานะเป็นสารคดีท่องเที่ยวยุคแรกของไทยด้วยสามารถถ่ายทอดสิ่งแปลกใหม่ให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพอย่างแจ่มชัด ประการที่สอง คือ ทำให้เกิดวรรณศิลป์ในพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน นอกจากนี้ยังสะท้อนในด้านความเป็นนักปราชญ์ กวี และนักวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างเด่นชัดen
dc.description.abstractalternativeThe thesis is an attempt to study the language of imagery in Klai-ban of King Rama V to illustrate how the language of imagery is a dominant characteristic the creates both concrete and abstract imagery, and expresses deep emotions. The elements of the language of imagery are the use of rhyme and rhythm, creative words for describing unfamiliar things, words variation for colour, light, sound, scent, taste, touch, shape and action to identify the uniqueness of things and changing context of word use. In sentence usage, Kung Chulalongkorn uses simle sentences, extra-long modifier sentences and repeating structure of sentences. This usage is intended as a means of ordering and extending imagery. In the use of figure of speech, H.M.King Chulalongkorn uses a large number of simile, metaphor, personification and onomatopoeia. The value of language of imagery in the texts are two-fold. As an early Thai travelogue, the language of imagery makes Klai-ban a success in conveying the unfamiliar imagery of foreign countries. Moreover, the language of imagery renders a literary beauty to the text, reflecting the genious of the royal author as a poet, a sage and a great critic.en
dc.format.extent1319859 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.277-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาจินตภาพen
dc.subjectจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ, 2396-2453en
dc.subjectไกลบ้าน--ประวัติและวิจารณ์en
dc.titleภาษาจินตภาพในเรื่องไกลบ้าน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวen
dc.title.alternativeThe language of imagery in King Chulalongkorn's Klai Banen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineภาษาไทยen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuchitra.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.277-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vannaporn.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.