Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27521
Title: | Operational risk management for motorcycle parts factory |
Other Titles: | การบริหารความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนจักรยานยนต์ |
Authors: | Pariya Pornpattanaoeskul |
Advisors: | Damrong Thawesaengskulthai |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Damrong.T@chula.ac.th |
Subjects: | Motorcycle supplies industry -- Risk management Motorcycles -- Equipment and supplies -- Defects |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The application of operational risk management is conducted in this research to control operational risks for motorcycle parts factory. This research has developed from the risk identification within manufacturing process of 3 groups of product, Sprocket Gear, Collar and Meter Gear from process of Raw Material Preparation, Machining, Gearing, until Grinding. Then, the risk analysis and evaluation has been applied to classify those risks into 4 levels. This research has determined the treatment for managing the high and emergency risks which named as major risk events. The study mainly used the Fault Tree Analysis (FTA) as the technique for analyzing the root cause of risks. Base on the study, it was found that there were 4 groups of failure that impact to product quality. They include 1) Misleading if measurement from human error 2) Diameter and Shape failure from machine error 3) Material changing from material specification 4) Roughness error from inappropriate method. Those failures led to root of causes of those 12 major risk events. Consequently, those 12 major risks had an effect to the number of defects that over company’s targets. The risk treatment plan had been established for mitigation those major risks. Those plans include training, preventive maintenance, skill evaluation, In-process of quality control, working standard, and check sheet. From the monitoring and evaluation after implementation, the result is that the improvement of defects has been reduced from 25,077 pieces to 22,943 pieces, or to 8.51 percent. In aspect of Risk number, the percentage of Risk Number from 4 processes comparing between before and after implementation has been decreased to 54 percent. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์นี้ได้การศึกษาการบริหารความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนจักรยานยนต์ การวิจัยนี้ได้พัฒนาจากหาความเสี่ยงต่างๆจากกระบวนการผลิต ซึ่งได้แบ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆออกเป็น 3 กลุ่ม คือ เฟืองโซ่(Sprocket Gear) วงแหวน (Collar) และ เฟืองวัดความเร็ว (Meter gear) ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ การกระบวนการเตรียมวัตถุดิบ(Material Preparation) การขึ้นรูปชิ้นงาน (Machining) การกัดเฟือง (Gearing) และการเจียรไน (Grinding) จากนั้นจะนำความเสี่ยงต่างๆมาวิเคราะห์และประเมิน เพื่อจัดระดับความเสี่ยงโดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้จะนำความเสี่ยงที่ถูกจัดในระดับสูง(High risk)และระดับฉุกเฉิน (Emergency risk) หรือสามารถเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า เหตุการณ์ที่มีความเสี่ยงขั้นรุนแรง (major risk event) เพื่อนำมาบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง การวิจัยนี้ได้นำเทคนิคการวิเคราะห์ที่ใช้ผลต่อเนื่องที่อาจเกิดขึ้นของเหตุการณ์ (Fault Tree Analysis) สำหรับวิเคราะห์หาสาเหตุต้นตอของความเสี่ยง จากการศึกษาพบว่าบริษัทมีกลุ่มปัญหาหลักๆ 4 กลุ่ม ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้าได้แก่ 1) ปัญหาการวัดที่ผิดพลาด ซึ่งเกิดจากความผิดพลาดที่เกิดจากคน 2) ปัญหาขนาดและรูปร่างของชิ้นงาน ซึ่งเกิดจากความผิดพลาดของเครื่องจักร 3) ปัญหาคุณสมบัติของวัตถุดิบ จากวัตถุดิบที่เปลี่ยนแปลง4) ปัญหาของผิวงานซึ่งเกิดจากวิธีการทำงานที่ไม่เหมาะสม ผลจากปัญหาเหล่านี้ได้นำไปสู่ สาเหตุของความเสี่ยงขั้นรุนแรงทั้ง 12 ความเสี่ยง ผลที่ตามมาคือ ความเสี่ยงทั้ง 12 ความเสี่ยงนั้นมีผลทำให้เกิดชิ้นงานเสียที่มากกว่าเป้าหมายของบริษัท การจัดการด้านความเสี่ยงจึงถูกกำหนดขึ้นเพื่อที่ลดระดับความเสี่ยงเหล่านั้น ซึ่งแผนต่างๆนั้นประกอบไปด้วย การฝึกอบรม การซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน การจัดทำมาตรฐานการทำงาน การตรวจสอบของเสียระหว่างการผลิต และเอกสารตรวจสอบระหว่างการทำงาน ซึ่งจากการตรวจประเมินผลการดำเนินงานพบว่า ปัญหางานเสียได้ลดลงจาก 25,077 ชิ้น เหลือ 22,943 ชิ้น คิดเป็น 8.51 เปอร์เซ็นต์ และในแง่มุมของตัวเลขวัดระดับความเสี่ยงจากทั้ง 4 กระบวนการพบว่าระดับความเสี่ยง ลดลง 54 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบก่อนและหลังการกระยุกต์ใช้การบริหารจัดการด้านความเสี่ยง |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Engineering Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27521 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1775 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1775 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pariya_po.pdf | 3.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.