Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน
dc.contributor.authorอรษา เจริญพร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-15T17:29:34Z
dc.date.available2012-12-15T17:29:34Z
dc.date.issued2525
dc.identifier.isbn9745612634
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27764
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งคือ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง “เส้นขนานความคล้าย และคุณสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก” ระหว่างกลุ่มที่มีการแข่งขันเป็นรายบุคคล การแข่งขันเป็นกลุ่ม และไม่มีการแข่งขัน 2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ระหว่างกลุ่มที่มีการแข่งขันเป็นรายบุคคล การแข่งขันเป็นกลุ่ม และไม่มีการแข่งขัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง โรงเรียนยานนาวาเวศวิทยาคม ปีการศึกษา 2524 จำนวน 135 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือกลุ่มทดลองที่มีการแข่งขันเป็นรายบุคคลจำนวน 45 คน กลุ่มทดลองที่มีการแข่งขันเป็นกลุ่มจำนวน 46 คน และกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการแข่งขันจำนวน 44 คน ผู้วิจัยได้ทดลองสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง “เส้นขนาน ความคล้าย และคุณสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก” ให้กับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่มเป็นเวลา 12 คาบๆละ 50 นาที เมื่อเรียนจบบทเรียนแล้วให้นักเรียนทำแบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.88 และทำแบบสำรวจเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.90 แล้วนำคะแนนจากสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคะแนนจากแบบสำรวจเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่มมาวิเคราะห์ โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างกลุ่มที่มีการแข่งขันเป็นรายบุคคล กลุ่มที่มีการแข่งขันเป็นกลุ่ม และกลุ่มที่ไม่มีการแข่งขัน ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 2. เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างกลุ่มที่มีการแข่งขันเป็นรายบุคคล กลุ่มที่มีการแข่งขันเป็นกลุ่ม และกลุ่มที่ไม่มีการแข่งขัน ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were as follows: 1. To compare mathematics learning achievement between individual competitive group, sub-group competitive group and non-competitive group. 2. To compare mathematics attitudes between individual competitive group, sub-group competitive group and non-competitive group. The subjects were 135 students, studying in Mathayom Suksa Two of Yannawatevittayacom School, academic year 1981. The subjects were divided into three groups, fourty-five students in experimental group which was individual competitive group and fourty-six students in experimental group which competing between sub-group and fourty-four students in control group which was no any competition. The researcher taught mathematics on “parallel line, similarity, the properties of rectangular triangle" The total time spent in teaching was twelve periods, fifty minutes each. After accomplishing the entire lesson, the students took an achievement test whose reliability was 0.88 and attitude test whose reliability was 0.90. Then the scores of the three groups were analyzed by one-way analysis of variance. The results of this research were as follows: 1. There was no significant difference at the Ievel of 0.05 of the mathematics learning achievement between the individual competitive group and sub-group competitive group and non-competitive group. 2. There was no significant difference at the level of 0.05 of attitude on mathematics between individual competitive group and sub-group competitive group and non-competitive group.
dc.format.extent488577 bytes
dc.format.extent568113 bytes
dc.format.extent703854 bytes
dc.format.extent590514 bytes
dc.format.extent358673 bytes
dc.format.extent348814 bytes
dc.format.extent2312446 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของเงื่อนไขการแข่งขันที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองen
dc.title.alternativeEffects of competitive conditions on mathematics learning achievement and attitude of mathayom suksa two studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Orasa_Ch_front.pdf477.13 kBAdobe PDFView/Open
Orasa_Ch_ch1.pdf554.8 kBAdobe PDFView/Open
Orasa_Ch_ch2.pdf687.36 kBAdobe PDFView/Open
Orasa_Ch_ch3.pdf576.67 kBAdobe PDFView/Open
Orasa_Ch_ch4.pdf350.27 kBAdobe PDFView/Open
Orasa_Ch_ch5.pdf340.64 kBAdobe PDFView/Open
Orasa_Ch_back.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.