Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28184
Title: | Effect of sol-gel derived supports on CO2 reforming reaction of methane over supported nickel catalysts |
Other Titles: | ผลของตัวรองรับที่ได้โดยโซลเจลที่มีต่อรีฟอร์มมิ่งของมีเทนด้วยคาร์บอนไดออกไซด์บนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับ |
Authors: | Wanida Tanhakit |
Advisors: | Suphot Phatanasri |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | suphot.p@chula.ac.th |
Subjects: | Aluminum oxide Carbon dioxide Nickel catalysts Methane Catalyst supports |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Effect of sol-gel derived supports on CO₂ reforming reaction of methane over supported nickel catalysts was studied as well as the effect of different types of supports, prepared by sol-gel method and solvothermal method, different phase of alumina and amount of metal loaded on catalysts. It had been found that 7% Ni/y-Al₂O₃ (AIP,solgel) and 50%y-x-Al₂O₃ (AIP,solvothermal) had the highest conversion of 87% and 85.5%, respectively with the highest coke resistance of all the catalysts studied in CO₂ reforming reaction of methane at 700 ℃ and 1 atm. In addition, the effect of addition of water into feed steam had also observed and found the slightly conversion increase with the water addition during the 6 hours on stream of reaction. |
Other Abstract: | การศึกษาผลของตัวรองรับที่ได้โดยโซลเจลที่มีต่อรีฟอร์มมิ่งของมีเทนด้วยคาร์บอนไดออกไซด์บนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับที่มีต่อความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาและค่าการเลือกเกิดของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ไฮโดรเจนและคาร์บอนมอนออกไซด์ โดยมีชนิดของตัวรองรับที่มีความแตกต่างของวิธีการเตรียมได้แก่วิธีโซลเจลและวิธีโซลโวเทอร์มอล ความแตกต่างของเฟสอะลูมินา และความแตกต่างของสารตั้งต้นในการเตรียมโซลเจลอะลูมินา การทดลองกระบวนการรีฟอร์มมิ่งของมีเทนด้วยคาร์บอนไดออกไซด์บนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับถูกดำเนินการที่สภาวะอุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส ณ ความดันบรรยากาศ ผลการทดลองพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับที่เตรียมโดยวิธีโซลเจลโดยใช้สารตั้งต้นอะลูมิเนียมไอโซโพรพรอกไซด์ และ ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับที่เตรียมโดยวิธีโซลโวเทอร์มอลชนิดเฟสผสม 50% cอะลูมินาและg อะลูมินา และจะแสดงค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมีเทนสูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาอื่นๆ คือ ร้อยละ 87 และ ร้อยละ 85.5ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาผลจากการเติมไอน้ำเข้าไปในกระบวนการรีฟอร์มมิ่งของมีเทนด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่อค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นในระยะเวลา 6 ชั่วโมง ผลการทดลองพบว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมีเทนในกระบวนการรีฟอร์มมิ่งของมีเทนด้วยคาร์บอนไดออกไซด์บนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับที่เติมไอน้ำในสายป้อนมีค่ามากกว่ากระบวนการรีฟอร์มมิ่งของมีเทนด้วยคาร์บอนไดออกไซด์บนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับที่ไม่มีการเติมน้ำในสายป้อน |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28184 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1796 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1796 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
wanida_ta.pdf | 4.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.