Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28270
Title: Characterization of surface-modified pet films from industry
Other Titles: การพิสูจน์เอกลักษณ์ของฟิล์มพีอีทีที่ดัดแปรผิวจากอุตสาหกรรม
Authors: Pakorn Wichaihan
Advisors: Sanong Ekgasit
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: sanong.e@chula.ac.th
Subjects: Polyethylene terephthalate
Surfaces (Technology)
โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
พื้นผิววัสดุ (เทคโนโลยี)
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Polyethylene terephthalate (PET) films from flexible packaging industry were modified by corona treatment in ambient atmosphere, production line speed 410, 210 and 150 m/min, with electrical power 6.7 and 9.0 KW, plasma treatment under vacuum with O2 and Ar, production line speed 600 m/min electrical power 4.0 KW, and chemical treatment with the amino resin compound. The equipment used in this study are attenuated total reflectance-Fourier transform infrared spectroscopy (ATR FT-IR) and Raman spectroscopy for analyzing chemical structures or functional groups such as O=C–O and C=O after modification, atomic force microscopy (AFM) for determining the nanotopographical changes on polymer surface, contact angle and dyne solution for determining the surface tension. After surface modification attenuated total reflectance-Fourier transform infrared spectroscopy (ATR FT-IR) and Raman spectroscopy can’t analyze the changes of chemical structures or functional groups due to the depth of modified surface not enough. However atomic force microscopy (AFM) observation showed the roughness changes, contact angle and dyne value showed the variation of surface tension.
Other Abstract: ฟิล์มพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต จากอุตสาหกรรมการบรรจุแบบยืดหยุ่น ที่ผ่านการดัดแปรโดยโคโรนา ภายใต้สภาวะอากาศปรกติ ความเร็วในการผลิต ที่ 410 210 และ 150 เมตรต่อนาที ใช้พลังงานไฟฟ้า ที่ 6.7 และ 9.0 กิโลวัตต์ การดัดแปรโดยพลาสมาภายใต้สภาวะสุญญากาศ โดยการเติมแก๊ส ออกชิเจนและอาร์กอน ความเร็วในการผลิตที่ 600 เมตรต่อนาที ใช้พลังงานไฟฟ้า ที่ 4.0 กิโลวัตต์ และการดัดแปรโดยสารเคมี โดยการเคลือบอนุพันธ์ของ อะมิโน เรชิ่น อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เอทีอาร์เอฟทีไออาร์สเปกโทรสโคปี และรามานสเปกโทรสโกปี ในการวิเคราะห์โครงสร้างทางเคมีหรือหมู่ฟังก์ชัน เช่น เอสเตอร์ และคาร์บอนิล หลังจากการดัดแปร เอเอฟเอ็ม เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะความขรุขระของผิวฟิล์ม เครื่องวัดค่ามุมสัมผัสและสารละลายไดน์ใช้ในการตรวจสอบค่าแรงตึงผิว หลังจากที่ดัดแปรผิวเอทีอาร์เอฟทีไออาร์สเปกโทรสโคปี และรามานสเปกโทรสโกปี ไม่สามารถตรวจวิเคราะห์หาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีหรือหมู่ฟังก์ชันได้เนื่องจากการดัดแปรพื้นผิวมีความลึกไม่เพียงพอ อย่างไรก็ตามเอเอฟเอ็ม สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงลักษณะความขรุขระของผิว เครื่องวัดค่ามุมสัมผัสและสารละลายไดน์ สามารถตรวจสอบถึงความแตกต่างของค่าแรงตึงผิวได้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28270
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1155
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1155
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pakorn_wi.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.