Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28334
Title: | ความเป็นพิษของสารลดแรงดึงผิวประเภทแอนอิออนิกและนอนอิออนิกต่อไรแดง (Moina macrocopa. Straus) |
Other Titles: | Toxicity of anionic and nonionic surfactants on freshwater flea. (Moina marcrocopa. Straus) |
Authors: | เรวัติ วัฒนานุกูลกิจ |
Advisors: | ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Issue Date: | 2531 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ศึกษาพิษเฉียบพลันของสารลดแรงดังผิวประเภทแอนอิออนิก (Linear alkyl benzene sulfonic acid, LAS) และนอนอิออนิก (Alkyl phenol ethoxylate, APE) ต่อไร่แดง (Moina macrocopa. Straus) โดยใช้วิธีชีววิเคราะห์ในน้ำนิ่ง จากผลทารทดลอง เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าความเป็นพิษในรูปของมัธยฐานของระดับความเข้มข้น (LC50) ในระยะเวลา 24 ชั่วโมง ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ตามวิธีของ Litchfield and Wilcoxon พบว่า ค่า 24 ชั่วโมง LC50 ของสารลดแรงดึงผิวชนิด LAS และ APE ในน้ำตัวกลางไม่เติมอาหาร เท่ากับ 7.50 (6.70-8.40) และ 37.50 (35.38-39.75) ppm. และในน้ำตัวกลางเติมอาหาร เท่ากับ 13.75 (12 .73-14.85) และ 50.00 (47.17-53.0๐) ppm. ตามลำดับ ส่วนการศึกษาพิษสะสม พบว่า สารลดแรงดังผิวทั้ง 2 ชนิด มีผลต่อการสืบพันธ์ของไรแดง ทำให้จำนวนลูกที่เกิดและความสามารถในการสืบพันธ์ลดลง รวมทั้งช่วงชีวิตไรแดงสั้นลงด้วย จากผลการทดลอง โดยใช้วิธีของ Biesinger and Christensen สามารถประเมินค่าระดับความเข้มข้นที่ปลอดภัย (MATC) ของสารลดแรงดังผิวชนิด LAS และ APE ต่อสัตว์น้ำ โดย เฉพาะไรแดงในน้ำที่ศึกษามีค่าเท่ากัน 1.73 และ 8.90 ppm. ตามลำดับ ผลการศึกษาสรุปได้ว่า สารลดแรงดังผิวประเภทแอนอิออนิก (LAS) มีความเป็นพิษรุนแรงกว่า สารลดแรงดังผิวประเภทนอนอิออนิก (APE). |
Other Abstract: | Acute toxicity of anionic surfactant (Linear alkyl benzene sulfonic acid, LAS) and nonionic surfactant (Alkyl phenol ethoxylate, APE) on freshwater fleas (Moina macrocopa.Straus) were studied by means of static bioassay. Using Litchfield and Wilcoxon Method, the 24-h LC50 (Median lethal concentration) with 95% confidence intervals of LAS and APE were 7.50 (6.70-8.40) and 37.50 (35.38-39.75) ppm. in water medium without food whereas in water medium with food they were 13.75 (12.73-14.85) and 50.00 (47.17-53.00) ppm. respectively. The chronic toxicity studies showed that LAS and APE were found to have effect on the reproduction of the waterfleas by decreasing the numbers of young produced, reproductive capacity and longevity of the animals. By using Biesinger and Christensen Method, the maximum acceptable toxicant concentration (MATC) values of LAS and APE for aquatic animals especially waterfleas under laboratory conditions were 1.73 and 8.90 ppm. respectively. It was quite obvious that the toxicity of anionic surfactant (LAS) on the waterfleas was more toxic than nonionic surfactant (APE). |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28334 |
ISBN: | 9745687871 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rewat_wa_front.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_ch1.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_ch2.pdf | 8.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_ch3.pdf | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_ch4.pdf | 8.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_ch5.pdf | 3.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_ch6.pdf | 849.6 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rewat_wa_back.pdf | 5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.