Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorภาวิณี อาจปรุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-01-19T04:16:35Z-
dc.date.available2013-01-19T04:16:35Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28562-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractงานวิจัยชิ้นนี้ มีจุดประสงค์ เพื่อลดเวลาและความสูญเปล่าในสายการผลิตเบรกเกอร์ โดยพยายามขจัดและลดเวลาที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Non value added) ต่อตัวผลิตภัณฑ์ อาทิเช่นความสูญเปล่า เนื่องจากการรอคอย (Delay) การเคลื่อนไหวที่เกินจำเป็น (Excess Motion) ความสูญเปล่าเนื่องจากงานเสีย (Defect) หรืองานที่ต้องนำกลับมาทำใหม่ (Rework) เป็นต้น ซึ่งสาเหตุที่กล่าวมานี้ทำให้โรงงานตัวอย่างมีต้นทุนที่ต้องสูญเสียเป็นเงิน 2,000,000 บาท ในปี 2550 โดยการดําเนินการวิจัยเริ่มต้นจาก การศึกษาปัญหาและรวบรวมข้อมูล จากนั้น ใช้หลักการ 3T ในการวิเคราะห์หาเวลาสูญเปล่าที่เกิดขึ้นทั้งในส่วนของ เวลาที่ใช้ในการผลิตจริง (T1) เวลาส่วนเกิน (T2) และเวลาไร้ประสิทธิภาพ (T3) และ ใช้เทคนิค แผนภูมิคน-เครื่องจักร (Man-Machine chart), Why - Why analysis ,แผนภูมิก้างปลา, 5W+1H , ECRS (Eliminate, Combine ,Rearrange, Simplify) และ เครื่องมือคุณภาพ เป็นเครื่องมือหลักที่จะช่วยในการหารากเหง้าของปัญหา (root cause) และ ปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดความสูญเปล่า ซึ่งผลจากการที่ได้ปรับปรุงในส่วนของสายการผลิต พบว่า ความสูญเสียต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมานั้น มีแนวโน้มลดลง จึงทำให้สัดส่วนของเวลาที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่า ลดลงจากเดิม 41 เปอร์เซ็นต์ เหลือ 28 เปอร์เซ็นต์ ส่วนผลผลิตต่อคน ของผลิตภัณฑ์รุ่น 1 โพล เพิ่มขึ้นจากเดิม 122 ชิ้นต่อคน เป็น 159 ชิ้นต่อคน ส่วน ผลิตภัณฑ์รุ่น 2,3 โพล จากเดิม 89 ชิ้นต่อคน เพิ่มเป็น 116 ชิ้นต่อคน ซึ่งการเพิ่มขึ้นดังกล่าวมีผลทำให้ประสิทธิภาพการทำงาน เพิ่มขึ้นจากเดิม 79 เปอร์เซ็นต์ เป็น 85 เปอร์เซ็นต์en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is the reduction of loss in production line of Circuit Breaker Factory by elimination and reduction of non value added activities. For example, delay time, excess motion, defect and rework etc. For those losses, the factory has lost 2 million Baht in 2007. The Research is starting from investigate and study the problem then collect all data. Secondly, use 3T technique to analyze– Actual Time (T1), Excess Time (T2) and Useless Time (T3) then use combination technique of Man-Machine Chart, WHY - WHY analysis, Fish-bone Diagram, 5W+1H, ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify) Principle and Quality Tools to identifying the root cause and improving the working processes. Thus, the result is to reduce non value job from 41 percent to 28 percent then to increase productivity per person of 1 pole product from 122 pieces per person to 159 pieces, and productivity of 2, 3 poles is to increase from 89 pieces per person to 116 pieces and work performance has been improved from 79 percent to 85 percent.en
dc.format.extent2507296 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1253-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า -- การผลิตen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.subjectElectric circuit-breakers|xProduction-
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่า-
dc.titleการลดเวลาสูญเปล่าในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์เบรกเกอร์en
dc.title.alternativeLoss reduction in circuit breaker factoryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1253-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pawinee_Ar.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.