Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28638
Title: | Assessment of alcohol consumption among pregnant women in antenatal clinic (ANC) at Jigmi Dorji Wangchuk National Referral Hospital (JDWNRH), Thimphu, Bhutan |
Other Titles: | การประเมินการดื่มสุราในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่คลินิกฝากครรภ์ในโรงพยาบาลจิกมี ดอร์จิก วังชุก เมืองทิมพู ประเทศภูฎาน |
Authors: | Udon, Pema |
Advisors: | Chitlada Areesantichai |
Other author: | Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
Advisor's Email: | No information provided |
Subjects: | Drinking of alcoholic beverages -- Bhutan Pregnant women -- Alcohol use -- Bhutan |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Drinking alcohol by men, women and children is widely accepted and practiced in Bhutanese society. Homemade alcohol is used by post-natal mothers with a belief it increases flow of breast milk for baby and promote comfort and healing for mother. This cross-sectional descriptive study was conducted in June 2011 with an objective to access alcohol consumption among pregnant women attending antenatal clinic at Jigme Dorji Wangchuk National Referral Hospital (JDWNRH) in Thimphu, Bhutan. Structured questionnaires and alcohol use disorder identification test (AUDIT) questions were used for face to face interview with 312 pregnant women. Data was analyzed using SPSS. Lifetime alcohol consumption was 203 (65.1%), last one year drink 165 (52.9%), last three months 79 (25.3%) last one month 74 (23.7%) and last one week was 34 (10.9%). Out of nine types of alcohol listed for this study pregnant women mostly consumed homemade rice wine called “changkey” and distilled alcohol drink “ara”. Commercial products women mostly consume were beer and wine. The main reason for alcohol consumption was tradition, culture and customs and women had positive feelings towards alcohol especially homemade alcohol. They also drank to promote sleep and comfort. Although 92% of pregnant women heard about effects of alcohol on fetus, they still continued drinking during pregnancy. Therefore, all pregnant women should be screened for alcohol consumption and advised to abstain from drinking during entire pregnancy. In-depth studies with special focus on homemade alcohol are recommended in all the ANC clinics in the country for appropriate future interventions. |
Other Abstract: | การดื่มสุราในกลุ่มผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก ในประเทศภภูฎานเป็นการปฏิบัติและเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการดื่มสุราที่ทำขึ้นเองในกลุ่มมารดาหลังคลอด ด้วยความเชื่อที่ว่าจะช่วยสร้างน้ำนม และช่วยสร้างความอบอุ่นให้มารดาหลังคลอดมากขึ้น การศึกษาภาคตัดขวางนี้จัดทำขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน 2554 วัตถุประสงค์เพื่อประเมินการดื่มสุราในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่คลินิกฝากครรภ์ในโรงพยาบาลจิกมี ดอร์จิก วังชุก เมืองทิมพู ประเทศภูฎาน โดยใช้แบบคัดกรองภาวะของผู้ที่ดื่ม หรือ AUDIT และแบบสอบถามกับกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 312 คน ผลการศึกษาพบว่าก่อนการตั้งครรภ์มีการดื่มตลอดเวลาคิดเป็นร้อยละ 65.1 หนึ่งปีที่ผ่านมามีการดื่มร้อยละ 52.9 จากจำนวนผู้ดื่ม 203 คน พบว่ามีกลุ่มหญิงที่ดื่มระหว่างตั้งครรภ์ในสามเดือนผ่านมาร้อยละ 25.3 หนึ่งเดือนผ่านมาร้อยละ 23.7 และหนึ่งสัปดาห์ผ่านมาดื่มร้อยละ 10.9 จากเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 9 ประเภท เครื่องดื่มที่ดื่มมากที่สุดในการสำรวจครั้งนี้คือ ไวน์ข้าว ที่ทำเอง เรียกว่า “ชางคี” และ “อาร่า” รองลงมาคือ เบียร์และไวน์ที่จำหน่ายในท้องตลาด เหตุผลหลักของการดื่มคือ ธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติสืบต่อกันมา และวัฒนธรรม โดยผู้หญิงมีความรู้สึกแง่บวกต่อการบริโภคเครื่องดื่มที่ทำเองและการดื่มช่วยให้หลับสบาย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าร้อยละ 92 ของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับผลของสุราต่อทารกในครรภ์ แต่ก็ยังมีการดื่มสุราอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น หญิงตั้งครรภ์ควรรู้จักระวังในการดื่มสุราและควรแนะนำให้งดการดื่มสุราจนกว่าจะพ้นภาวะการตั้งครรภ์ การให้สุขศึกษาและข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับแอลกอฮอล์และการตั้งครรภ์ในกลุ่มดังกล่าว จะต้องดำเนินการศึกษาอย่างเจาะลึกต่อในทุกโรงพยาบาลของประเทศภูฎานที่ซึ่งมีการดื่มแอลกอฮอล์ที่ทำเองอย่างกว้างขวางเพื่อเป็นประโยชน์ในการดำเนินการอย่างเหมาะสมต่อไปในอนาคต |
Description: | Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Public Health |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Public Health |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28638 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1247 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1247 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pub Health - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pema_ud.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.