Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28680
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorเอื้อมพร หลินเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-25T03:14:15Z-
dc.date.available2013-01-25T03:14:15Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746367986-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28680-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโมเดลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน และทำการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างเวลา ความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างกลุ่มของโมเดลที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โมเดลประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 14 ตัวแปร และตัวแปรแฝง 4 ตัวแปร ได้แก่ ลักษณะนักเรียน สภาพแวดล้อมทางครอบครัว คุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียน และคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์หลังเรียน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่อยู่ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร และในจังหวัดกำแพงเพชรที่อยู่ในอำเภอเมืองและนอกเขตอำเภอเมือง จำนวนทั้งสิ้น 450 คน ผลการทดสอบ พบว่า โมเดลศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการทดสอบไค-สแควร์ มีค่า 46.90 ที่องศาอิสระ = 52 GFI = .99 P = .67 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างเวลาของโมเดลการวัดคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ พบว่าโมเดลมีความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างเวลา แสดงให้เห็นว่าการวัดความเปลี่ยนแปลงทั้ง 2 ครั้ง เป็นการวัดตัวแปรแฝงตัวเดียวกัน ส่วนผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างกลุ่มพบว่าโมเดลยังไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนการเปลี่ยนแปลงระหว่างกลุ่มด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการทดสอบภายหลัง พบว่า ค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร สูงกว่านักเรียนที่ศึกษาในจังหวัดกำแพงเพชรที่อยู่นอกเขตอำเภอเมือง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop and validate the LISREL model to study the change of students’ science characteristics and test invariance across time and invariance across groups. The developed model consisted of fourteen observed variables and four latent variables : students’ characteristics, home environment, pretest science characteristics and posttest science characteristics. The samples consisted of the students studying in Matayom Suksa 1 in Bangkok and inside muang district and outside muang district of Kamphaeng phet province. The results indicated that the change of science characteristics model were consistent with empirical data. Model validation of the base fitted model provide the chi-square goodness of fit test of 46.90, df = 52 and GFI = .99. The results of the test of invariance across time and invariance across groups of the change of science characteristics model indicated that the measurement model was invariance across time but not invariance across groups. So the parameters estimated for structural model and measurement model for estimating the change score must be difference between groups. One – way analysis of variance was used to analysed for the difference of change scores between groups. The results indicated that the mean of change scores of at least one group was different at the .05 level of significance. Post-hoc analysis showed that the change scores of the students studying in Bangkok were higher than the students studying outside muang district.-
dc.format.extent4353343 bytes-
dc.format.extent3567350 bytes-
dc.format.extent14618895 bytes-
dc.format.extent5129266 bytes-
dc.format.extent15481950 bytes-
dc.format.extent8435501 bytes-
dc.format.extent19376605 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาโมเดลลิสเรลในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะ ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนen
dc.title.alternativeA development of the lisrel model for studying the change of students' science characteristicsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aumporn_li_front.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open
Aumporn_li_ch1.pdf3.48 MBAdobe PDFView/Open
Aumporn_li_ch2.pdf14.28 MBAdobe PDFView/Open
Aumporn_li_ch3.pdf5.01 MBAdobe PDFView/Open
Aumporn_li_ch4.pdf15.12 MBAdobe PDFView/Open
Aumporn_li_ch5.pdf8.24 MBAdobe PDFView/Open
Aumporn_li_back.pdf18.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.