Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28967
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธงชัย พรรณสวัสดิ์ | |
dc.contributor.author | อาชวัน อิ่มเอิบธรรม | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-02-19T14:08:14Z | |
dc.date.available | 2013-02-19T14:08:14Z | |
dc.date.issued | 2536 | |
dc.identifier.isbn | 9745829137 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28967 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | en |
dc.description.abstract | กระบวนการเม็ดตะกอนแบบไหลขึ้นเป็นกระบวนการกำจัดความขุ่น โดยการสร้างเม็ดตะกอนให้เกิดขึ้นในอุปกรณ์สร้างเม็ดตะกอน เพื่อทำหน้าที่ดักจับอนุภาคของน้ำขุ่นสังเคราะห์จากดินคาโอลินที่มีความขุ่น 50 เอ็นทียู และมี ขนาดอนุภาคนุภาคตามทฤษฎีเล็กกว่า 1 ไมครอนที่ถูกทำลายเสถียรภาพแล้วจากอุปกรณ์กวนเร็ว โดยใช้โพลีอลูมินัมคลอไรด์เป็นโคแอกกูแลนท์ และใช้โพลีเมอร์ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ โพลีเมอร์แอนไอออน โพลีเมอร์นอนไอออนและโพลีเมอร์แคทไอออนเป็นโคแอกกูแลนท์เอด ตัวแปรควบคุมที่ศึกษา ได้แก่ความเข้มข้นของโพลีอลูมินัมคลอไรด์ ซึ่งเท่ากับ 0, 1 และ 3 มก./ล. ความเข้มข้นของโพลีเมอร์แอนไอออนและโพลีเมอร์นอนไอออน 0.05, 0.10 และ 0.30 มก./ล. ความเข้มข้นของโพลีเมอร์แคทไอออน 0.30 มก./ล. ความเร็วของน้ำไหลขึ้นเท่ากับ 40 และ 60 ชม./นาที ทำการทดลองแต่ละครั้งใช้เวลา 6 ชั่วโมง เก็บตัวอย่างทุก ๆชั่วโมง เพื่อหาความขุ่นตกค้างในน้ำผลิต พีเอชของน้ำ ขนาดและความเร็วในการจมตัวของเม็ดตะกอนที่ระดับความสูง 0, 50, 100 และ 130 ซม. และเมื่อระบบเข้าสู่สภาวะคงตัว ทำการหาปริมาณอลูมิเนียมที่ละลายในน้ำผลิตและปริมาณของแข็งตกค้างในน้ำที่ผ่านการบำบัด จากผลการวิจัยพบว่า 1. โพลีเมอร์แอนไอออนและโพลีเมอร์นอนไอออนเหมาะสำหรับใช้เป็นโคแอกกูแลนท์เอด ในกระบวนการเม็ดตะกอนแบบไหลขึ้น 2. ผลของการใช้โพลีเมอร์แคทไอออนยังไม่มีข้อสรุป เนื่องจากระบบยังไม่เข้าสู่สภาวะคงตัว 3. ความขุ่นของน้ำผลิตที่สภาวะคงตัวสามารถลดลงได้ต่ำกว่า 5 เอ็นทียู โดยมีค่าแปรผันตรงกับความเร็วของน้ำไหลขึ้นในอุปกรณ์สร้างเม็ดตะกอน แต่มีค่าแปรผกผันกับปริมาณและน้ำหนักโมเลกุลของโพลีเมอร์แอนไอออนและโพลีเมอร์นอนไอออน 4. ปริมาณอลูมิเนียมที่ละลายในน้ำผลิตมีค่าแปรผันตรงกับปริมาณโพลีอลูมินัมคลอไรด์ที่ใช้เป็นโคแอกกูแลนท์ แต่ยังมีค่าต่ำกว่ามาตรฐาน 0.2มก./ล. | |
dc.description.abstractalternative | Raw water was synthesized to have theoretical colloid sizes of equal to or smaller than one micron and 50 NTU turbidity. The turbidity particles were destabilized by poly aluminum chloride in a rapid mixing unit and different polymers such as anionic, nonionic and cationic polymer were added as coagulant aid. The doses of poly aluminum chloride were set at concentration of 0, 1 and 3 mg./l while those of anionic and nonionic polymer were 0.05, 0.10 and 0.30 mg./l, and cationic polymer were 0.30 mg./l. Each experiment was tested at up flow velocities of 40 and 60 cm. /min for six hours, with samplings being taken every hour. Effluent turbidity, pH, size and settling velocity of pellet – floc at levels 0, 50, 100 and 130 cm. were determined for comparison. Quantities of dissolved aluminum and suspended solids at steady state were also tested. Experimental results led to the following conclusions: 1. Anionic polymer and nonionic polymer were suitable as coagulant aid in the process. 2. In The cationic polymer case, no conclusion was drawn, due to the fact that the steady state was not reached. 3. At steady state, effluent turbidity increased when up flow velocity in the pelletizer was increased but decreased when dose and molecular weight of anionic and nonionic polymer were increased. The product water was less than 5 NTU. 4. Effluent dissolved aluminum content increased with doses of poly aluminum chloride, but the residual aluminum was still below the 0.2 mg. /l standard. | |
dc.format.extent | 12960669 bytes | |
dc.format.extent | 863594 bytes | |
dc.format.extent | 943164 bytes | |
dc.format.extent | 19701248 bytes | |
dc.format.extent | 7667544 bytes | |
dc.format.extent | 52718100 bytes | |
dc.format.extent | 2127038 bytes | |
dc.format.extent | 706884 bytes | |
dc.format.extent | 56982840 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลของโพลีเมอร์ต่อประสิทธิภาพการกำจัดความขุ่น ในกระบวนการเม็ดตะกอนแบบไหลขึ้น | en |
dc.title.alternative | Effect of polymers on turbidity removal efficiency in theupflow pellet-floc process | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Archawan_im_front.pdf | 12.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch1.pdf | 843.35 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch2.pdf | 921.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch3.pdf | 19.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch4.pdf | 7.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch5.pdf | 51.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch6.pdf | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_ch7.pdf | 690.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Archawan_im_back.pdf | 55.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.