Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29130
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรรณิการ์ สัจกุล-
dc.contributor.authorพยุงพร ไตรรัตน์สิงหกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-26T11:40:43Z-
dc.date.available2013-02-26T11:40:43Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746319981-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29130-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพื้นฐานการกำเนิด การดำรงอยู่และการถ่ายทอด หัตถกรรมพื้นบ้านเครื่องจักสานโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นของบ้านหนองปาตอง อำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ด้วยวิธีการของประวัตศาสตร์การบอกเล่า การวิจัยเอกสาร และการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสำรวจ แบบสังเกต และแบบสัมภาษณ์ผลการวิจัยพบว่า หัตถกรรมพื้นบ้านเครื่องจักสานของบ้านหนองปาตอง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีต้นกำเนิดจากชาวพวนที่อพยพมาจากนครเวียงจันทน์มาตั้งถิ่นฐานที่บ้านหนองปาตอง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้นำความรู้ที่ติดตัวมาทำเครื่องจักสานเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ อาจกล่าวได้ว่า สาเหตุการเกิดหัตถกรรมเครื่องจักสานของบ้านหนองปาตองมี 3 ประการคือ ความจำเป็นในการดำเนินชีวิต สิ่งแวดล้อมตามสภาพภูมิศาสตร์ และความเชื่อในขนบประเพณีและศาสนา และจากแรงงานผลักดันเหล่านี้ ทำให้หัตถกรรมพื้นบ้านเครื่องจักสานของบ้านหนองปาตอง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการดำรงอยู่มาจนทุกวันนี้ เพื่อให้มีการถ่ายทอดวิธีทำเครื่องจักสานสืบต่อกันมาจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง กระบวนการถ่ายทอด จะต้องประกอบไปด้วย 1. แหล่งความรู้ ได้แก่ แหล่งความรู้จากครอบครัว โรงเรียนและหน่วยราชการต่างๆ เช่น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดฉะเชิงเทรา กรมพัฒนาชุมชน เกษตรตำบล 2. ผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอด ได้แก่ ครอบครัว เพื่อนบ้าน และบุคคลต่างหมู่บ้าน ที่เป็นผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอด 3. วิธีการถ่ายทอด ได้แก่ 3.1 การถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ เป็นวิธีการถ่ายทอดจากการสังเกต การทดลอง การบอกเล่าด้วยปาก การปฏิบัติจริง และการฝึกหัด 3.2 การฝึกฝนด้วยตนเอง เกิดจากความเคยชินที่พบเห็นทุกวันจนสามารถทำได้เอง โดยไม่ต้องมีคนสอน แต่ในบางครั้งก็ใช้วิธีการเลียนแบบ 3.3 การถ่ายทอดจากเพื่อนบ้าน เป็นการบอกเล่าด้วยปากผู้เรียนนำอุปกรณ์ไปเอง และสอนโดยการปฏิบัติจริง 3.4 การถ่ายทอดจากหน่วยราชการ โดยการพาไปเรียนนอกสถานที่ผู้สอนจะอธิบาย วิธีการหาแล้วให้ผู้เรียนทำไปพร้อมกัน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to study about the background of Wickwork of Folk Handicraft : in terms of oringin, existence and local wisdom on the transmission. The research focused on the Bannongpathong, Amphoe Phanomsarakham, Changwat Chachoengsao using the interview : Oral History, documentary and survey research by using Questionaire, Observation and Interview Technique. The result revealed that the Wickwork of Folk Handicraft of Bannongpathong, Amphoe Phanomsarakham, Changwat Chachoengsao originated from Phuan people in Vientiane who came to down at Bannongpathong in the Reign of King III. They used this knowledge for earning their livings and the materials used were from natural resources. The source of the handicraft might come from three motives, the need in leading their lived, the geographical environments, the cultural and religious beliefs. Beacuse of these reasons, the wickwork still exists at presenty. In order to transmit wickwork handicraft knowledge from generation to generation, the process should consist of : 1. Knowledge Resources from families, schools and government services as Chachoengsao External Education Center, Community Developing Department, Agricultural District. 2. Instructors and practitioners as families, neighbors and external human resources junctioning as instructors and learners. 3. Transmission method should be : 3.1 Observing from their ancestors. The practitioner would notice, experiment, listen practice and do the exercises. 3.2 Self-Practicing. The practitioner would observe the way how to do it until they could do it by themselves. No one taught them and sometimes they just immitated. 3.3 Learning from the neighbors. The learners would bring their own materials and use a real practicing method. 3.4 Leacturing from the officials. The Lecturers would bring the learners to study outside the villages and give lectures, the learners would practice doing at the same time.-
dc.format.extent3268496 bytes-
dc.format.extent6059999 bytes-
dc.format.extent21477271 bytes-
dc.format.extent10845246 bytes-
dc.format.extent15447276 bytes-
dc.format.extent11589434 bytes-
dc.format.extent18224383 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องจักสาน -- ไทย -- บ้านหนองปาตอง (ฉะเชิงเทรา)-
dc.subjectภูมิปัญญาชาวบ้าน -- ไทย -- บ้านหนองปาตอง (ฉะเชิงเทรา)-
dc.subjectภูมิปัญญาชาวบ้าน -- ไทย -- แง่สังคมวิทยา-
dc.titleภูมิปัญญาท้องถิ่นในการถ่ายทอดหัตถกรรมพื้นบ้านเครื่องจักสาน บ้านหนองปาตอง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา : การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์en
dc.title.alternativeThe local wisdom on the transmission of wickwork folk handicraft in Bannongpathong, Amphoe Phanomsarakham, Changwat Chachoengsao : a historical analysisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพื้นฐานการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Payungporn_tr_front.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open
Payungporn_tr_ch1.pdf5.92 MBAdobe PDFView/Open
Payungporn_tr_ch2.pdf20.97 MBAdobe PDFView/Open
Payungporn_tr_ch3.pdf10.59 MBAdobe PDFView/Open
Payungporn_tr_ch4.pdf15.09 MBAdobe PDFView/Open
Payungporn_tr_ch5.pdf11.32 MBAdobe PDFView/Open
Payungporn_tr_back.pdf17.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.