Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29215
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ เพ็งปรีชา-
dc.contributor.authorสุชาดา สังวรวงษ์พนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-03-02T08:16:28Z-
dc.date.available2013-03-02T08:16:28Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29215-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของแร่ดินเบาที่ถูกปรับปรุงด้วยความร้อนสำหรับกำจัดโครเมต ได้ทำการศึกษาการปรับปรุงแร่ดินเบาโดยวิธีการเผาที่อุณหภูมิแตกต่างกันสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการดูดซับที่ทำการศึกษา ได้แก่ ค่าพีเอช ช่วงเวลาที่สัมผัส ความเข้มข้นของสารละลายโครเมต และปริมาณแร่ดินเผา ไอโซเทอมการดูดซับแบบแลงมัวร์ และแบบฟรุนดลิช รวมถึงผลกระทบของแอนไอออนต่างๆ ที่รบกวนการดูดซับโครเมตได้ทำการศึกษาเช่นกัน ผลการศึกษาแสดงว่าแร่ดินเบาที่ผ่านการเผาที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง (CD400) เป็นตัวดูดซับโครเมตได้ดีที่สุด สามารถกำจัดโครเมตได้ 42.98 เปอร์เซ็นต์ โดยสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดโครเมตที่ระดับความเข้มข้นเท่ากับ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ปริมาณตัวดูดซับ CD400 เท่ากับ 8 กรัม เวลาสัมผัส 60 นาที ที่ความเร็ว 200 รอบต่อนาที พีเอช 6 และผลการศึกษาไอโซเทอมพบว่า ตัวดูดซับ CD400 มีรูปแบบสมการการดูดซับแบบแลงมัวร์ และการศึกษาผลกระทบของแอนไอออนต่าง ๆ ที่รบกวนการดูดซับ พบว่า คลอไรด์ไนเตรท คาร์บอเนต ฟอสเฟต และซัลเฟตมีผลทำให้ประสิทธิภาพการดูดซับโครเมตลดลงen
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate the possibility of heat treated diatomite to be used as an adsorbent for chromate removal. In the preparation of heat treated diatomite adsorbent, factor of temperature for calcinations was studied. The optimal condition for adsorption was determined by varying pH, contact time, concentration of chromate, and amount of calcined diatomite at room temperature. The adsorption equilibrium was studied by Langmuir and Freundlich isotherm equations. The interference of competing anions on chromate adsorption was also investigated. The results showed that the heat treated diatomite at 400°C for 6 hour (CD400) was the appropriate adsorbent for chromate removal. By using 1 mg/l of chromate, 8.0 g of CD400, 60 min of contact time, 200 rpm of shaking rate, and pH 6, 42.98% of chromate was removed. The adsorption isotherm of chromate removal was agreed with Langmuir isotherm. Furthermore the adsorption efficiency of chromate was reduced by chloride, nitrate, carbonate, phosphate, and sulphate anions.en
dc.format.extent789924 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1993-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโครเมียมen
dc.subjectแร่ดินen
dc.subjectการดูดซับen
dc.titleผลของการเผาแร่ดินเบาที่มีต่อการดูดซับโครเมตen
dc.title.alternativeCalcination effect of diatomite to chromate adsorptionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.Pe@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1993-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suchada_su.pdf771.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.