Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์สิริ กาญจนวาสี
dc.contributor.authorมัณฑนา อุเทน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-05T11:35:03Z
dc.date.available2013-03-05T11:35:03Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.isbn9746360973
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29296
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการบริโภคอาหารหาบเร่แผงลอยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร ในด้านความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามตัวแปรระดับการศึกษาของผู้ปกครอง ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปให้กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 500 คน เป็นนักเรียนชาย 256 คน นักเรียนหญิง 244 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืน 500 ฉบับ คิดเป็นร้อยละร้อย ผู้วิจัยนำแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าเอฟ (F-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารหาบเร่แผงลอย โดยรวมอยู่ในระดับดี แต่ควรปรับปรุงในเรื่องการปนเปื้อนเชื้อรา และโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารหาบเร่แผงลอยเป็นประจำ เมื่อเปรียบเทียบตามระดับการศึกษาของผู้ปกครองพบว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีระดับการศึกษามัธยมศึกษามีความรู้มากกว่า นักเรียนที่ผู้ปกครองมีระดับการศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนมีทัศนคติ เกี่ยวการบริโภคอาหารหาบเร่แผงลอย โดยรวมอยู่ในระดับดีในเรื่องการรณรงค์เรื่องความสะอาด และการสอนเรื่องอันตรายของอาหารหาบเร่แผงลอยในหลักสูตร แต่มีทัศนคติในระดับพอใช้ในเรื่องอาหารหาบเร่แผงลอยเป็นอาหารที่ซื้อได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว และการซื้ออาหารหาบเร่แผงลอยไม่ใช่เรื่องเสียหาย เมื่อเปรียบเทียบตามระดับการศึกษาของผู้ปกครองพบว่า นักเรียนที่ผู้ปกครองมีระดับการศึกษาต่างกัน มีทัศนคติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนมีการปฏิบัติเกี่ยวการบริโภคอาหารหาบเร่แผงลอย โดยรวมอยู่ในระดับพอใช้ ในเรื่องการรับประทานอาหารหาบเร่แผงลอยเพื่อประทังความหิว เมื่อเปรียบเทียบตามระดับการศึกษาของผู้ปกครองพบว่า นักเรียนที่ผู้ปกครองมีระดับการศึกษาต่างกัน มีการปฏิบัติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to identify and compare health behaviors regarding consumption of street foods by Protom Suksa six students in elementary schools under the Jurisdiction of Bangkok Metropolitan Administration in the areas of knowledge, attitudes and practices. The independent variable was the education level of the parents. To accomplish this study, a survey questionnaire was utilized. Five hundred subjects, comprising of 256 male and 244 female students were randomly sampled. The obtained data were then analyzed in terms of percentages, means and standard deviations. A F-test was employed to determine the significant differences among the education level of the parents at the .05 level. The findings were as follows: 1. As a whole, students’ knowledge regarding consumption of street foods were at the good level. The students should improve in the following areas : food contamination with molds and the diseases transmitted by regular consumption of street foods. The students whose parents graduated from secondary schools had a higher level of knowledge in street foods consumption than the students whose parents had graduated at a lower level than secondary school significantly at the .05 level. 2. As a whole, students’ attitudes regarding consumption of street foods were at the good level in the following areas : Campaigning for street vendor cleanliness ; Being educated in regards to street foods in their teaching curriculum. Although, the students had the fair level attitudes in the following areas ; students thought that street foods were fast and convenient to buy ; it was acceptable to buy street foods. There were no significant differences at the .05 level regarding the education level of the parents. 3. As a whole, students’ practices regarding consumption of street foods were at the fair level regarding eating street foods to quell hunger. There were no significant differences at the .05 level regarding the education level of the parents.
dc.format.extent6833281 bytes
dc.format.extent4725391 bytes
dc.format.extent23281880 bytes
dc.format.extent5104904 bytes
dc.format.extent21799654 bytes
dc.format.extent22348656 bytes
dc.format.extent19507445 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการบริโภคอาหารหาบแร่แผงลอย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeHealth behaviors regarding street foods consumption of prathom suksa six students in elementary schools under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan administrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Muntana_ut_front.pdf6.67 MBAdobe PDFView/Open
Muntana_ut_ch1.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open
Muntana_ut_ch2.pdf22.74 MBAdobe PDFView/Open
Muntana_ut_ch3.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open
Muntana_ut_ch4.pdf21.29 MBAdobe PDFView/Open
Muntana_ut_ch5.pdf21.82 MBAdobe PDFView/Open
Muntana_ut_back.pdf19.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.