Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัชชัย ศุภผลศิริ
dc.contributor.authorภัทรดา พินิจค้า
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-09T10:57:31Z
dc.date.available2013-03-09T10:57:31Z
dc.date.issued2535
dc.identifier.isbn9745815748
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29494
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทนการใช้ผลงานทางดนตรีกรรมในต่างประเทศ และศึกษาวิเคราะห์ถึงผลที่ได้รับจากการบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทนดังกล่าว เพื่อนำมาพิจารณาในการจัดตั้งองค์กรบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทนที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย จากการศึกษาการวิจัยพบว่า ในปัจจุบันการให้ความคุ้มครองสิทธิทางเศรษฐกิจของผู้ประพันธ์ เพลงไทย ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายลิขสิทธิ์เพียงอย่างเดียวไม่อาจทำให้ผู้ประพันธ์เพลงได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากการที่บุคคลอื่นใช้ประโยชน์ในงานสร้างสรรค์ของตนอย่างเพียงพอและจากการที่ได้ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทนในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น แสดงให้เห็นว่า การให้ความคุ้มครองด้วยระบบลิขสิทธิ์ และการมีระบบการบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทน โดยมีการควบคุมการดำเนินงานขององค์กรดังกล่าว เช่นโดยคณะกรรมการชี้ขาดลิขสิทธิ์ ในประเทศอังกฤษ ทำให้ผู้ประพันธ์เพลงได้รับผลประโยชน์ตอบแทนทางเศรษฐกิจอย่างเป็นธรรม สำหรับในประเทศไทย การมีระบบลิขสิทธิ์ในระดับสากล และการที่ผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจดนตรีได้เริ่มเห็นถึงความสำคัญในการให้ความคุ้มครองคุณค่าทางปัญญามากขึ้น ประกอบกับการมีองค์กรดังกล่าวในต่างประเทศหลายแห่งที่สามารถศึกษาเป็นแบบอย่างได้ ประเทศไทยจึงมีความพร้อม และมีความเป็นไปได้ในการจัดตั้งองค์กรบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทน ซึ่งระบบการบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทนนี้ จะเป็นแรงจูงใจให้มีการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีกรรมมากขึ้น และเป็นการเสริมสร้างธุรกิจ เกี่ยวกับดนตรีอย่างเป็นระบบ และเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the thesis is to study the administration system of the royalty collection for use of musical works in foreign countries and to analyze the advantages and disadvantages of the system in order to be a basis for the establishment of the suitable collective organization in Thailand. The study shows that the present economic right protection for Thai composers under the Copyright Act is does not avail the composers of sufficient benefits when his works is used by others. Moreover, the comparative study of laws and administration relating to royalty collection in foreign countries such as Great Britain, United States and Japan shows that composers fairly receive appropriate benefits through the protection provided by the system of copyright and the administration of collective body under due control by a relevant authority, for sample, the Copyright Tribunal. It is also a finding that Thailand has a. great potential to establish the royalty collection administration system because of these three factors: 1) the existing standard copyright system, 2) people in music business tends to accept the protection of intellectual creations and 3) there are foreign patterns which can be adjusted to suit the need in Thailand. The collective administration organization will finally promote the creation of more musical works, encourage the systematic music business and contribute fairness every party concerned.
dc.format.extent5457331 bytes
dc.format.extent26330711 bytes
dc.format.extent22629215 bytes
dc.format.extent44507906 bytes
dc.format.extent5336044 bytes
dc.format.extent2712778 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleกฎหมายและการบริหารการจัดเก็บค่าตอบแทนการใช้ผลงานทางดนตรีกรรมen
dc.title.alternativeLaw and Administration Relating to royalty collection for use of musical worksen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phatarada_ph_front.pdf5.33 MBAdobe PDFView/Open
Phatarada_ph_ch1.pdf25.71 MBAdobe PDFView/Open
Phatarada_ph_ch2.pdf22.1 MBAdobe PDFView/Open
Phatarada_ph_ch3.pdf43.46 MBAdobe PDFView/Open
Phatarada_ph_ch4.pdf5.21 MBAdobe PDFView/Open
Phatarada_ph_back.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.