Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29507
Title: ชีววิทยาประมงของกุ้งแชบ๊วย Penaeus merguiensis de Man จากอวนรุนบริเวณชายฝั่งอำเภอเมือง จังหวัดสตูล
Other Titles: Fishery biology of banana prawn Penaeus merguiensis de man from push nets in Amphur Muang, Changwat Satun
Authors: ภัคจุฑา เขมากรณ์
Advisors: สมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล
เจริญ นิติธรรมยง
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2539
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: กุ้งแชบ๊วย Penaeus merquiensis de Man จากเรือประมงอวนรุน บริเวณชายฝั่ง อ. เมือง จ. สตูล มีความ สัมพันธ์ระหว่างความยาวเปลือกหัว (CL, ซม.) ความยาวเหยียด (TL, ชม.) และน้ำหนัก (W, กรัม) คือในเพศผู้ CL = 0.17 TL 1.08 .W= 0.73 CL 3.20 , W = (2.26*10 -3) TL 3.5 ในเพศเมีย CL = 0.16 TL 1.11 .W = 0.78 CL 3.08 .W = (2.38*10 -3) TL 3.48 และรวมทั้งสองเพศ CL = 0.16 TL 1.10 .W = 0.75 CL 3.13 .W = (2.30*10 -3) TL 3.49 มีขนาดความยาวเปลือกหัวสูงสุด (CL∞ = 3.44 ซม. ขนาดน้ำหนักสูงสุด W∞ = 35.85 กรัม สัมประสิทธิ์การเติบโต K = 1.54 ต่อปี อัตราส่วนเฉลี่ยของเพศผู้ต่อเพศเมียตลอดช่วงเวลาที่ทำการศึกษา (กรกฎาคม 2537-ธันวาคม 2538) เท่ากับ 1:1.07 แต่ในเดือนตุลาคม 2537 เดือนมีนาคม เมษายนและกรกฎาคม 2538 มีปริมาณเพศเมียมากกว่าเพศผู้ และเดือนกันยายน 2538 มีปริมาณเพศผู้มากกว่าเพศเมีย ส่วนอัตราการจับกุ้งแชบ๊วยไม่มีความสัมพันธ์กันกับอัตราการจับสัตว์น้ำเศรษฐกิจอื่น
Other Abstract: The carapace length (CL, cm), total length (TL, cm) and weight (W, g) relationships of banana prawn Penaeus merguiensis de Man in Amphur Muang, Changwat Satun were : CL = 0.17 TL 1.08 .W= 0.73 CL 3.20 , W = (2.26*10 -3) TL 3.5 for male ; CL = 0.16 TL 1.11 .W = 0.78 CL 3.08 .W = (2.38*10 -3) TL 3.48 for female and CL = 0.16 TL 1.10 .W = 0.75 CL 3.13 .W = (2.30*10 -3) TL 3.49 for both sexes. The asymptotic carapace length (CL∞), asymptotic weight (W∞) and curvature parameter of both sexes were 3.44 cm, 35.85 g and 1.54 per year, respectively. The mean sex ratio of male to female was 1:1.07. In October 1994, March April and July 1995, the number of female was significantly higher than male, but in September 1995, the number of male was significantly higher than female. The catching rate of banana prawn was not related to catching rate of other economic aquatic animals.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์ทางทะเล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29507
ISBN: 9746340808
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakjuta_kh_front.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_ch1.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_ch2.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_ch3.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_ch4.pdf7.47 MBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_ch5.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_ch6.pdf778.85 kBAdobe PDFView/Open
Pakjuta_kh_back.pdf9.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.