Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29914
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ | - |
dc.contributor.author | ทัศนีย์ อังสนานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-17T15:22:36Z | - |
dc.date.available | 2013-03-17T15:22:36Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.isbn | 9745830267 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29914 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2536 | en |
dc.description.abstract | การสอบสวนเป็นกระบวนการยุติธรรมที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งที่ใช้กลั่นกรองผู้ต้องหาที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดทางอาญา ก่อนที่จะขึ้นไปสู่การพิจารณาคดีของศาล การสอบสวนเป็นการรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งได้กระทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหาเพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาฟ้องลงโทษ และนอกจากพนักงานสอบสวนจะต้องรวบรวมพยานหลักฐานต่างๆ นั้นแล้ว สิ่งสำคัญที่จะขาดเสียมิได้ในกระบวนการสอบสวนก็คือ การสอบสวนผู้ต้องหา ในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีทางอาญามีหลักสำคัญประการหนึ่งที่ยึดถือและนำหลักดังกล่าวมาบัญญัติไว้ในกฎหมาย คือ หลักที่ว่า ห้ามมิให้มีการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำในความผิดเดียวกัน หลักกฎหมายดังกล่าวนี้มีขึ้นเพื่อให้ความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้กระทำความผิด ในขณะเดียวกันก็เป็นหลักกฎหมายที่ช่วยให้รัฐได้ดำเนินคดีไปด้วยความรวดเร็ว แต่เนื่องจากบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการสอบสวนกลับมีบทบัญญัติที่ไม่ชัดเจนว่า จะนำหลักกฎหมายดังกล่าวนี้ไปใช้บังคับด้วยหรือไม่ หากนำไปใช้บังคับควรจะอยู่ภายใต้เงื่อนไขอย่างใด และพยานหลักฐานใหม่ที่สำคัญแก่คดีอันจะทำให้พนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนในเรื่องเดียวกันนั้นอีกแม้จะมีคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดีของพนักงานอัยการแล้ว ก็ไม่มีขอบเขตความหมายที่ชัดเจน ด้วยความไม่ชัดเจนดังกล่าวนี้การดำเนินคดีอาญาในชั้นสอบสวนจึงไม่อาจให้ความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาได้สมดังที่มีหลักกฎหมายดังที่ได้กล่าวข้างต้น วิทยานิพนธ์นี้มุ่งที่จะชี้ให้เห็นปัญหาต่างๆ อันเกิดจากบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตลอดจนเน้นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงแก้ไข โดยวัตถุประสงค์ของการเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวก็เพื่อให้บุคคลที่ตกเป็นผู้ต้องหาได้รับความคุ้มครองในการดำเนินคดีซึ่งจะก่อให้เกิดความเชื่อถือและศรัทธาต่อการใช้อำนาจของรัฐอันจำเป็นจะต้องมีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อที่จะก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม | - |
dc.description.abstractalternative | Inquiry is one of the significant steps in the criminal justice process which is used as the screening mechanism of the accused before the offender is sent to court for trial. Its purpose is to collect all evidence and to comply with other necessary proceedings in pursuant to the Code of Criminal Procedure in order to obtain facts or to prove criminal conduct of the alleged offender. It is important to note that, aside from the inquiry officer's duty to collect all evidence, he must inquire the alleged offender. It is generally accepted that one of the main principle in Criminal Proceeding is to prohibit on re-proceeding in the same offence. The objective of this principle is to protect the right of the accused and also necessary for the states on justly proceeding. As the matter of fact there is no clearly legal provision especially on double investigation so there may be misused on the law enforcement. Moreover, if the said proceeding can be partly enforced the existing problems will be on what conditions or the overlap between the former and the latter evidence getting from double investigation especially if there is non-procecution order from the Public Prosecutor. From the said unclearly legal provision it may deem that the right of the accused will be affected. This thesis aims at the exploration and the analysis of the weaknesses of the Criminal Procedure Code's provisions. It emphasizes the important and the necessity of the Code's amendments. Its recommendations should serve the alleged offender as a guarantee of the right to fair trial which in turn can be used as guideline for any future law amendments. | - |
dc.format.extent | 4209786 bytes | - |
dc.format.extent | 3147500 bytes | - |
dc.format.extent | 11783605 bytes | - |
dc.format.extent | 6640339 bytes | - |
dc.format.extent | 8344115 bytes | - |
dc.format.extent | 4937421 bytes | - |
dc.format.extent | 2575271 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสอบสวนซ้ำ | en |
dc.title.alternative | Double Investigation | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tassanee_an_front.pdf | 4.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tassanee_an_ch1.pdf | 3.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tassanee_an_ch2.pdf | 11.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tassanee_an_ch3.pdf | 6.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tassanee_an_ch4.pdf | 8.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tassanee_an_ch5.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tassanee_an_back.pdf | 2.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.