Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29990
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทร์เพ็ญ เชื้้อพานิช | - |
dc.contributor.author | ทิพย์อาภา บุญรัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-18T09:19:44Z | - |
dc.date.available | 2013-03-18T09:19:44Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.isbn | 9745687308 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29990 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตที่เกี่ยวกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา ที่ผลิตขึ้นตั้งแต่ปีการศึกษา 2518-2529 จำนวน 394 เล่ม ด้วยวิธีการสังเคราะห์เชิงปริมาณ และการสังเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จากการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์เชิงปริมาณ พบว่า การสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาด้วยการใช้บทเรียนแบบโปรแกรม ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการสอนตามปกติและพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับองค์ประกอบด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 2. จากผลการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์เชิงเนื้อหา พบว่า หลักสูตรวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาฉบับของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความเหมาะสมและส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะต่างๆ สูงกว่าหลักสูตรฉบับก่อนๆ หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตามหลักสูตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสืออยู่ในขั้นดี การสอนโดยใช้วิธีสอนและเทคนิคใหม่ๆ ส่วนใหญ่ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในด้านต่างๆ เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ดีกว่าวิธีสอน และเทคนิคการสอนแบบเดิม นวัตกรรมทางการเรียนการสอนทุกชนิดช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลการเรียนการสอนด้านต่างๆ มีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์ประกอบด้านสถานภาพส่วนตัว อารมณ์ และสิ่งแวดล้อม | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to synthesize 394 master theses concerning science education at the secondary education level, published during the academic year 1975-1986. The quantitative and content synthesis were employed in the study. The major findings of this study were as follows: 1. From the quantitative synthesis, it was found that science learning achievement of the students who were taught by the programmed instruction was higher than the students who were taught by the traditional method; and their science learning achievement positively correlated with their science process skills, creative thinking, scientific attitude and attitude towards science. 2. From the content synthesis, it was found that science curriculum at the secondary education level of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology was appropriate. It also promoted the students' required characteristic higher than previous curriculum. The content in the science textbooks of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology corresponded with all of the objectives of science curriculum. The format of textbooks is good. Most of the new method and techniques in science teaching could help increasing science learning achievement of the students such as science learning achievement, science process skills, creative thinking and scientific attitude better than the traditional one. Every kind of instructional innovation would help increasing students achievement. The students learning outcomes mostly correlated with some factors such as student status, their emotion, and their environment. | - |
dc.format.extent | 3068634 bytes | - |
dc.format.extent | 1681075 bytes | - |
dc.format.extent | 11576323 bytes | - |
dc.format.extent | 5462186 bytes | - |
dc.format.extent | 5580453 bytes | - |
dc.format.extent | 3621544 bytes | - |
dc.format.extent | 5145251 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตที่เกี่ยวกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2518-2529 | en |
dc.title.alternative | A synthesis of master's theses in science education at the secondary education level, academic year 1975-1986 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tiparpa_bo_front.pdf | 3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tiparpa_bo_ch1.pdf | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tiparpa_bo_ch2.pdf | 11.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tiparpa_bo_ch3.pdf | 5.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tiparpa_bo_ch4.pdf | 5.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tiparpa_bo_ch5.pdf | 3.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tiparpa_bo_back.pdf | 5.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.