Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง
dc.contributor.authorไพศาล มงคลเสาร์สุข
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-19T04:06:27Z
dc.date.available2013-03-19T04:06:27Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745777544
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30026
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษาของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชั้นปีที่ 4 ผลการวิจัยพบว่า นิสิตส่วนใหญ่มีความเห็นว่า บทบาทของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับในวงการศึกษาของไทย โดยเห็นว่า คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญต่องาน ทางการศึกษา อันได้แก่ การบริหารทางการศึกษา การเรียนการสอน การบริการทางการศึกษาและการวิจัยทางการศึกษา นิสิตส่วนใหญ่เห็นว่า คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่จำเป็นที่นิสิตนักศึกษา ควรมีพื้นความรู้ โดยเห็นว่าระดับการศึกษาที่เหมาะสมและควรจะเน้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มากที่สุดคือ ระดับ อุดมศึกษา ซึ่งควรจะเรียนในชั้นปีที่ 1 ในด้านวิชาคอมพิวเตอร์ นิสิตเห็นว่า ควรเป็นลักษณะวิชาบังคับ โดยควรจะเน้นเนื้อหาทางด้านโปรแกรมสำเร็จรูป และนิสิตเห็นว่าผู้จบการศึกษาหากมีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะมีโอกาสในการทำงานได้ดีกว่าผู้ที่ไม่มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ ในส่วนบทบาทของมหาวิทยาลัยในการสนับสนุนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา นิสิตเห็นว่า มหาวิทยาลัยน่าจะจัดบริการให้นิสิตนักศึกษาและอาจารย์ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ในราคาพิเศษ เนื่องจากในอนาคตความต้องการในการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในด้านการศึกษา จะมีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้น ส่วนในด้านปัญหาของการใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันคือ การขาดเครื่องคอมพิวเตอร์และบุคลากร เพื่อให้คำแนะนำ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this researh was to study an opinions of the fourth year students of Chulalonkorn University concerning the utilization of computer for education. The results of the study showed that most of the students thought that roles of computer have been accepted In the system of Thai education, especially for administration, Instruction, research, and educational services. Besides, fundamental knowledge of computer was an essential for every collage student. Such knowledge should be learned as soon as possible. Opinions concerning contents of the course and course characteristics showed that the course offered should be emphasis on the utilization of application programs and should be a required course for every college student. In terms of job applications, they thought that graduate students who had computer backgrouds should have a better chance to get a job than those who don't have background. Threfore, the universities should arrange possibility services to support the needs of students and Instructors such as buying micro-computer at lower prices. Major problems concering the utilization of computer were the lacks of hardware and lab cosultants. In the future, the needs of computer for education will be in creased.
dc.format.extent3920881 bytes
dc.format.extent3892295 bytes
dc.format.extent20840241 bytes
dc.format.extent2581970 bytes
dc.format.extent23322538 bytes
dc.format.extent9693557 bytes
dc.format.extent7376715 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชั้นปีที่ 4en
dc.title.alternativeOpinions of the fourth year students of Chulalongkorn University concerning the Utilzation of computer for educationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paisan_mo_front.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_mo_ch1.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_mo_ch2.pdf20.35 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_mo_ch3.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_mo_ch4.pdf22.78 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_mo_ch5.pdf9.47 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_mo_back.pdf7.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.