Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30461
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลสง่า สมบูรณ์ปัญญา | - |
dc.contributor.author | ไพโรจน์ อารีประเสริฐ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-04-05T03:09:21Z | - |
dc.date.available | 2013-04-05T03:09:21Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.isbn | 9745695343 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30461 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างแบบจำลองเศรษฐกิจประเทศไทยเพื่อประเมินผลนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง โดยใช้ข้อมูลรายไตรมาสช่วงปี ค.ศ. 1970 (1) – 1984 (4) ประมานค่าสัมประสิทธิ์แต่ละสมการด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดสองครั้ง (2SLS) ประกอบบกับวิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบธรรมดา (OLSQ) แบบจำลองนี้ประกอบด้วยสมการทั้งหมด 83 สมการ เป็นสมการพฤติกรรม 25 สมการ สมการเอกลักษณ์ 56 สมการ และสมการดุลยภาพ 2 สมการ ผลการประมาณค่าแบบสมการมีระดับความเชื่อมั่นที่สูงพอควร สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ได้ แบบจำลองที่สร้างขึ้นเป็นระบบสมการต่อเนื่องซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ภาคเศรษฐกิจ คือ ภาคเศรษฐกิจจริงและภาคการเงิน ในภาคเศรษฐกิจจริง สาขาการผลิตแบ่งออกเป็นสาขาเกษตรกรรมดุลยภาพในตลาดผลผลิตถูกกำหนดโดยความพอดีของอุปสค์และอุปทานรวม เมื่อเกิดความไม่สมดุลในอุปสงค์และอุปทาน การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลังจะเป็นตัวปรับให้เข้าสู่ดุลยภาพใหม่ ในด้านดุลยภาพในตลาดการเงิน อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงินถูกกำหนดจากความพอดีของความต้องการถือเงินกับอุปทานของเงินแล้วส่งผลกระทบไปยังภาคเศรษฐกิจจริงในรูปของอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งเป็นตัวแปรที่สำคัญสำหรับการตัดสินใจในการลงทุน การศึกษานี้สามารถสรุปได้ 3 ประการ คือ ประการแรก การประเมินผลแบบจำลอง สามารถยืนยันได้ระดับหนึ่งว่าแบบจำลองที่สร้างขึ้นสามารถนำไปใช้พยากรณ์ได้ดี ประการที่สองผลของการปนะเมินผลนโยบายการเงินและนโยบายการคลังที่มีต่อตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจมหภาคมีเหตุมีผลตามหลักทฤษฎี และสอดคล้องกับความเป็นจริง ประการสุดท้าย ผลการศึกษาความยืดหยุ่นของนโยบายการเงินและนโยบายการคลังที่มีต่อตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจในระดับมหภาค สรุปได้ว่า โดยทั่วไปแล้วนโยบายการคลังมีประสิทธิภาพมากกว่านโยบายการเงินทั้งในระยะสั้นและระยะยาว อย่างไรก็ดี เราจะหวังให้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังแก้ปัญหาเศรษฐกิจทันทีทันใดไม่ได้ เพราะความยืดหยุ่นในระยะยาวมักมีค่ามากกว่าความยืดหยุ่นในระยะสั้น นอกจากนี้ยังจะหวังผลของทั้งสองนโยบายนี้มากนักก็ไม่ได้เช่นเดียวกันนอกเสียจากว่าจะต้องมีการใช้นโยบายหรือมาตรการทางนโยบายการเงินและการคลังหลายๆ นโยบายหรือมาตรการพร้อมๆ กัน ทั้งนี้เป็นเพราะว่าค่าความยืดหยุ่นส่วนใหญ่มีค่าน้อยกว่าหนึ่งนั่นเอง | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this thesis was to construct a Thai Economic model evaluation of monetary and fiscal policies. Quarterly data during the period 1970 and 1984 are used in constructing the modle. The method of two stage least square (2SLS) and the ordinary least square (OLSQ) were used simultaneously in estimation of the parameters. The model consists of 83 equations i.e. 25 behavioral equations, 56 identities and 2 equilibrating equations. The estimated results have acceptable level of confidence. The model was divided into two sector: real sector and monetary sector. In the real sector, the production sectors are divided into agricultural and non-agricultural sectors. The market equilibrium were determined by both aggregate demand and aggregate supply. Changes in inventory worked as an adapter towards new equilibrium. In the monetary sector, the nominal rate of interest was determined by the demand for and the supply of money. This, consequently, affected the real sector through real rate of interest which is an important determining factor in investment decision. The results of this thesis are summarized as follows: Firstly, the model could be used for forecasting purpose. Secondly, evaluation of the effectiveness of monetary and fiscal policy confined to the theory and was consistent with the real situation. Finally, it could be concluded that, for both short term and long term, the fiscal policy was more effective than the monetary policy. However, it should be noted that we could not expect immediate effectiveness of both policies because long-run elasticities were higher than those of the short-run: Moreover, since most value of the elasticities were smaller than one, several policy were therefore needed to be applied simultaneously in order Thai the policy will be effective. | - |
dc.format.extent | 906490 bytes | - |
dc.format.extent | 1022191 bytes | - |
dc.format.extent | 2433446 bytes | - |
dc.format.extent | 1205874 bytes | - |
dc.format.extent | 2440419 bytes | - |
dc.format.extent | 531335 bytes | - |
dc.format.extent | 1175408 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | แบบจำลองเศรษฐกิจประเทศไทยเพื่อการประเมินผลนโยบายการคลัง และนโยบายการเงิน : 1970(1) - 1984(4) | en |
dc.title.alternative | A quarterly simulation model of fiscal and monetary policy ror the Thai economy : 1970(1)-1948(4) | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pairioje_ar_front.pdf | 885.24 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairioje_ar_ch1.pdf | 998.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairioje_ar_ch2.pdf | 2.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairioje_ar_ch3.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairioje_ar_ch4.pdf | 2.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairioje_ar_ch5.pdf | 518.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairioje_ar_back.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.