Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพร วิชชาวุธ-
dc.contributor.authorธวิช อินทรพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-14T02:54:31Z-
dc.date.available2013-05-14T02:54:31Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745639389-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30904-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจพฤติกรรมจริยธรรมและแนวโน้มพฤติกรรมจริยธรรมต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง และเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมและแนวโน้มของพฤติกรรมต่อสิ่งแวดล้อมตามตัวแปรอิสระ 6 ตัวแปร คือ เพศ สถานภาพ ศาสนา อาชีพหลักของครอบครัว สภาพความเป็นเมือง และภูมิภาค กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 มัธยมปีที่ 3 มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2524 ครู และผู้ปกครอง จากภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกรุงเทพมหานคร จำนวน 2,835 คน โดยการเลือกแบบหลายขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและมาตรวัดพฤติกรรมจริยธรรมและแนวโน้มพฤติกรรมต่อสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์แปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รายงานว่าเคยทำบ่อยๆ คือ การสะสมวัตถุและพฤติกรรมที่กลุ่มส่วนใหญ่รายงานว่าไม่เคยทำคือ การแข่งสัตว์ การทำลายพันธุ์สัตว์ การใช้แรงงานสัตว์ การฆ่าสัตว์ การควบคุมน้ำ การทดลองกับสัตว์ และความรักสัตว์ 2. พฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รายงานว่าอาจจะทำถ้ามีโอกาสคือ การทำให้สิ่งแวดล้อมสกปรก และพฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างรายงานว่าจะไม่ทำแม้จะมีโอกาสคือ การควบคุมพืช การทำลายพันธุ์สัตว์ การเซ่นไหว้บวงสรวงผีสางเทวดา การอนุรักษ์ความงามของธรรมชาติ การไม่อนุรักษ์ศิลปวัตถุ การทำลายพันธุ์พืช การฆ่าสัตว์ ความรักสัตว์ การทดลองกับสัตว์ การควบคุมสัตว์ และการควบคุมน้ำ 3. พฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยเห็นผู้อื่นกระทำบ่อยๆ คือ การควบคุมสัตว์ การไม่อนุรักษ์พลังงาน การทำลายพันธุ์พืช การควบคุมพืช การทำลายพันธุ์สัตว์ การอนุรักษ์ความงามของธรรมชาติ และการทำลายทรัพยากรธรณี และพฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยเห็นผู้อื่นกระทำน้อยที่สุดคือ การทดลองกับสัตว์ 4. พฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดว่าผู้อื่นจะทำแน่ๆ ถ้ามีโอกาสคือ การแข่งสัตว์ และการควบคุมพืช และพฤติกรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดว่าผู้อื่นจะไม่ทำแม้จะมีโอกาสคือ การทดลองกับสัตว์ การทำให้สิ่งแวดล้อมสกปรก การควบคุมสัตว์ การควบคุมน้ำ การทำลายพันธุ์พืช การอนุรักษ์ความงามของธรรมชาติ การไม่อนุรักษ์ศิลปวัตถุ และการทำลายพันธุ์สัตว์ 5. ตัวแปรอิสระ 6 ตัวแปร มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและแนวโน้มพฤติกรรมจริยธรรมต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) หรือต่ำกว่า) โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือ สถานภาพ และอาชีพหลักของครอบครัว รองลงมาคือ เพศ สภาพความเป็นเมืองและภูมิภาค ส่วนตัวแปรที่มีอิทธิพลน้อยที่สุดคือ ศาสนา-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to survey existing environment-directed moral behaviors and behavioral tendencies of pupils, teachers and parents and (2) to compare moral behavior and behavioral tendencies among different groups according to six independent variables : sex, status, religion family occupation, region and urbanity. The subjects were 2,835 pupils in Prathomsuksa 6, Mathayom 3, Mathayomsuksa 5 in the 1981 academic year, teachers and parents from five regions of Thailand, namely, Central, Northern, Southern, Northeasthern and Bangkok Methopolis areas. The subjects were selected by using a questionnaire and moral behavior scale. The data were analysed by using one way analysis of variance and, where appropriate, a Scheffe's method for pairwise comparisons. The major findings are as follows : 1. The samples reported the most frequently done behavior was collection of material things. The behaviors that most of them had never done were attempt at extermination animals, exploitation of animals, using animals to work, killing animals Control of water, experimenting with animals and loving animals 2. Most of the samples reported that if they had a chance they would certainly do making environment become dirty. The behaviors they reported that if they had a chance they wouldn't do were control of plants, exploitation of animals, Spirit worship, conservation of the beauty of nature, not conserving of artwork, exploitation of plants, killing animals, loving animals, experimenting with animals, Control of animals and control of water 3. Most of the samples reported that they saw others doing 7 behaviors, respectively from the most frequent : control of animals, not conserving energy, exploitation of plants, control of plants, making environment become dirty, conservation of the beauty of nature, and exploitation of geological resources. The behaviors that they reported they have seen others doing the least were using animals to work, killing animals, loving animals and experimenting with animals. 4. Most of the sample reported that they think if the others had a chance they would certainly do attempt at exterminating animals and Control of plants. They reported that the least they thought the others would do "experimenting with animals, making environment become dirty, control of animals, control of water, exploitation of plants, conservation of the beauty of nature, not conserving of artwork, exploitation of animals. 5. All six independent variables significantly effected environment-directed moral behavior and behavioral Tendencies, (p < .05 or beyond), respectively from the most significant variable : Status, family occupation, sex, region and urbanity; and the least significant was religion.-
dc.format.extent10096702 bytes-
dc.format.extent14727047 bytes-
dc.format.extent7620402 bytes-
dc.format.extent6923417 bytes-
dc.format.extent19982230 bytes-
dc.format.extent2777460 bytes-
dc.format.extent10559618 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพฤติกรรมและแนวโน้มพฤติกรรมจริยธรรมต่อสิ่งแวดล้อมตามคำรายงาน ของนักเรียน ครู และผู้ปกครองen
dc.title.alternativeEnvironment-directed moral behaviors and behavioral tendencies as reported by pubils, teachers and parentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tavich_in_front.pdf9.86 MBAdobe PDFView/Open
Tavich_in_ch1.pdf14.38 MBAdobe PDFView/Open
Tavich_in_ch2.pdf7.44 MBAdobe PDFView/Open
Tavich_in_ch3.pdf6.76 MBAdobe PDFView/Open
Tavich_in_ch4.pdf19.51 MBAdobe PDFView/Open
Tavich_in_ch5.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open
Tavich_in_back.pdf10.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.