Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30953
Title: Physical properties of PVC/nitrile rubber blends
Other Titles: สมบัติทางกายภาพของโพลิเมอร์ผสมพีวีซี/ยางไนไตรล์
Authors: Paiboon Tepumnoysuk
Advisors: Pattarapan Prasassarakich
Nipon Wongvisetsirikul
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 1992
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In this research, the physical properties of Poly(vinyl chloride) (PVC)/nitrile rubber(NBR) blends were studied. The effects of vulcanized and unvulcanized rubbers and effects of fillers, calcium carbonate, carbon black and silica on properties of PVC/NBR blends were also investigated. The polymer and filler ratio was at 100:45. Each composition was mixed in a Brabender Plasticorder. The results show that hardness, modulus at 100 % and 300 % elongation, tear resistance, oil resistance increase due to PVC content. The tensile strength of PVC/NBR blends increased with increasing vulcanized rubber content up to a PVC/NBR ratio of 40:60. Oil resistant property and abrasion resistance of PVC/vulcanized NBR blends are better than those of PVC/unvulcanized NBR blends. The hardness, modulus at 100 % and 300 % elongtion, tensile and tear strength of carbon black filled compounds are higher than those of calcium carbonate and silica filled compounds but the elongation at break of carbon black filled compounds is lower. Silica filled compounds have the highest oil resistance.
Other Abstract: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาสมบัติทางกายภาพของโพลิเมอร์ผสมระหว่างพลาสติกโพลิไวนิลคลอไรด์ (พีวีซี) และ ยางไนไตรล์ (เอ็นบีอาร์) โดยศึกษาผลของยางที่ไม่มีการวัลคาไนซ์และมีการวัลคาไนซ์และผลของสารตัวเติมได้แก่ แคลเซียมคาร์บอเนต เขม่าดำ และซิลิกา ที่มีต่อสมบัติของโพลิเมอร์ผสม ต่อ สารตัวเติมเท่ากับ 100:45 โดยจะทำการผสมองค์ประกอบต่างๆ ในเครื่องผสมระบบปิดบราเบนเดอร์-พลาสติกคอร์ดเดอร์ จากผลการทดลองพบว่า ปริมาณพีวีซีสามารถเพิ่มสมบัติทางด้านความแข็ง โมดูลัสที่ 100 และ 300 เปอร์เซ็นต์ของการยืด ค่าความทนทานต่อการฉีกขาดและค่าความทนทานต่อน้ำมัน สำหรับยางวัลคาไนซ์ สามารถเพิ่มค่าความทนทานต่อแรงดึง จนกระทั่งถึงอัตราส่วนผสมระหว่างพีวีซีต่อเอ็นบีอาร์เท่ากับ 40:60 สำหรับสมบัติความทนทานต่อน้ำมันและความทนทานต่อการขัดถูกของพีวีซีกับยางวัลคาไนซ์จะให้สมบัติที่ดีกว่าของพีวีซีกับยางไม่วัลคาไนซ์ สำหรับโพลิเมอร์ผสมที่มีสารตัวเดิมเขม่าดำจะให้ค่าความแข็ง โมดูลัสที่ 100 และ 300 เปอร์เซ็นต์ของการยืด ค่าความทนทานต่อแรงดึง ค่าความทนทานต่อการฉีกขาดสุงกว่าโพลิเมอร์ผสมที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตและซิลิกาเป็นสารตัวเติม แต่เปอร์เซ็นต์การยืดตัว ณ จุดขาดของโพลิเมอร์ผสมที่มีสารตัวเติมเขม่าดำจะมีค่าน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับโพพลิเมอร์ผสมที่มีสารตัวเติมแคลเซียมคาร์บอเนตและซิลิกา สำหรับโพลิเมอร์ผสมที่มีสารตัวเติมซิลิกาพบว่า มีความทนทานต่อน้ำมันดีที่สุด
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1992
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30953
ISBN: 9745813567
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paiboon_te_front.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Paiboon_te_ch1.pdf411.41 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_te_ch2.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open
Paiboon_te_ch3.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Paiboon_te_ch4.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Paiboon_te_ch5.pdf393.44 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_te_back.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.